Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6355
Title: | THE DEVELOPMENT OF SPELLING ACTIVITY WITH BRAIN BASED LEARNING AND VARK MODEL FOR PRATHOMSUKSA 1 STUDENTS การพัฒนาความสามารถด้านการเขียนสะกดคำโดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน (Brain Based Learning) ร่วมกับ VARK Model ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 |
Authors: | PUNYAPORN SONSRI ปุณยาพร สอนศรี Songphop Khunmathurot ทรงภพ ขุนมธุรส Naresuan University Songphop Khunmathurot ทรงภพ ขุนมธุรส songphopk@nu.ac.th songphopk@nu.ac.th |
Keywords: | การเขียนสะกดคำ สมองเป็นฐาน VARK Model spelling Brain-Based Learning VARK Model |
Issue Date: | 3 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The objectives of this research were 1) to develop a lesson plan based on Brain-Based Learning Model along with the VARK Model to improve spelling abilities for Grade 1 2) to compare the writing abilities between pre-test and post-test of students in Grade 1 by using Brain-Based Learning Model along with VARK Model and 3) to study the satisfaction with learning of students. The samples were Grade 1 for 9 students who are studying in the second semester of the academic year 2021at Ban Nong Makang School (Jang Anusorn) under Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 3 selected using Purposive Sampling. The research instrument were 1) a lesson plan based on Brain-Based Learning Model along with the VARK Model 2) Spelling Ability Test and 3) The satisfaction with learning of students Assessment. The statistics used for data analysis were mean (x̄), percentage, standard deviation (S.D.), and t-test dependent.
From the result of the reseach, it is shown that
1. the level of lesson plan based on Brain-Based Learning Model along with the VARK Model were in the highest level (x̄ =4.68, S.D.=0.53)
2. the spelling abilities of post-test was higher than pre-test with statistical significant at .05
3. the level of satisfaction after learning by Brain-Based Learning Model along with the VARK Model of students were in the highest (x̄= 2.88, S.D.=0.06) การวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน (Brain Based Learning) ร่วมกับ VARK Model เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการเขียนสะกดคำ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการเขียนของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน (Brain Based Learning) ร่วมกับ VARK Model ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ ประชากร ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองมะคัง (จ่างอนุสรณ์) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านหนองมะคัง (จ่างอนุสรณ์) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 ที่กำลังศึกษาอยู่ในภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ของ จำนวน 9 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกกลุ่มเป้าหมายแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการการจัดการเรียนการรู้ โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain Based Learning) ร่วมกับ VARK Model 2) แบบวัดความสามารถในการเขียนสะกดคำ และ 3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า 1. แผนการการจัดการเรียนการรู้ โดยใช้สมองเป็นฐาน (Brain Based Learning) ร่วมกับ VARK Model มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.68, S.D. = 0.53) 2. ความสามารถด้านการเขียนสะกดคำหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.5 3. นักเรียนมีความพึงพอใจหลังการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน (Brain Based Learning) ร่วมกับ VARK Model อยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 2.88, S.D. = 0.06) |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6355 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63062203.pdf | 7.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.