Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6348
Title: | A MODEL OF ENHANCEMENT THE COMPETENCY FOR TEACHER OF RAJAPRACHANUKROH SCHOOL IN SPECIAL EDUCATION BUREAU รูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ |
Authors: | Witsanu Phojai วิษณุ โพธิ์ใจ Anucha Kornpuang อนุชา กอนพ่วง Naresuan University Anucha Kornpuang อนุชา กอนพ่วง anuchako@nu.ac.th anuchako@nu.ac.th |
Keywords: | การเสริมสร้างสมรรถนะ,สมรรถนะครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ Competency for teacher of Rajaprachanukroh school |
Issue Date: | 17 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | This research aimed to 1) study the components of teacher competencies and approaches for enhancing competencies of teachers in Rajprachanukroh Schools, 2) develop and validate a model for enhancing teacher competencies in Rajprachanukroh Schools, and 3) evaluate the model for enhancing teacher competencies in Rajprachanukroh Schools under the Bureau of Special Education Administration.
The research was conducted in three phases:
Phase 1: Studying the components of teacher competencies and approaches for enhancement by surveying 213 administrators and teachers, and interviewing 9 experts.
Phase 2: Developing and validating the model through drafting and focus group discussions with 9 experts.
Phase 3: Evaluating the model by surveying 35 school administrators of Rajprachanukroh Schools.
Research instruments included questionnaires, interview forms, focus group discussion records, and evaluation forms. Data were analyzed using mean, standard deviation, and content analysis.
The findings were as follows:
1. The components of teacher competencies in Rajprachanukroh Schools consisted of three domains: 1) Knowledge, comprising 5 indicators, 2) Skills, comprising 5 indicators, and 3) Personal attributes, comprising 5 indicators. All components were rated at the highest level of appropriateness.
2. The model for enhancing teacher competencies in Rajprachanukroh Schools (RISE Model) comprised 6 elements: 1) Principles, 2) Objectives, 3) Content and activities, 4) Competency enhancement process (RISE Process), 5) Measurement and evaluation, and 6) Conditions for success.
3. The evaluation of the model revealed that:
3.1 The overall appropriateness of the model was at the highest level (x̄ = 4.66, S.D. = 0.54).
3.2 The overall feasibility of implementing the model was at the highest level (x̄ = 4.61, S.D. = 0.60).
This developed model for enhancing teacher competencies in Rajprachanukroh Schools can be applied to develop teachers' competencies suitable for the context of education for disadvantaged children. It also serves as a guideline for human resource management for school administrators and governing agencies. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบสมรรถนะครูและแนวทางการเสริมสร้างสมรรถนะครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 2) สร้างและตรวจสอบรูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ และ 3) ประเมินรูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ สังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ การดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบสมรรถนะครูและแนวทางการเสริมสร้างสมรรถนะ โดยสำรวจความคิดเห็นของผู้บริหารและครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ จำนวน 213 คน และสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบรูปแบบ โดยยกร่างรูปแบบและตรวจสอบโดยการสนทนากลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 9 คน ขั้นตอนที่ 3 การประเมินรูปแบบ โดยสอบถามความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึกการสนทนากลุ่ม และแบบประเมิน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบสมรรถนะครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ประกอบด้วย 3 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านความรู้ ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัด 2) ด้านทักษะ ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัด และ 3) ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคล ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัด โดยทุกองค์ประกอบมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด 2. รูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ (RISE Model) ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการของรูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) เนื้อหาและกิจกรรม 4) กระบวนการเสริมสร้างสมรรถนะ (RISE Process) 5) การวัดและประเมินผล และ 6) เงื่อนไขความสำเร็จ 3. ผลการประเมินรูปแบบ พบว่า 3.1 ความเหมาะสมของรูปแบบโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.66, S.D. = 0.54) 3.2 ความเป็นไปได้ในการนำรูปแบบไปใช้โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.61, S.D. = 0.60) รูปแบบการเสริมสร้างสมรรถนะครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ที่พัฒนาขึ้นนี้ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาครูโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ให้มีสมรรถนะที่เหมาะสมกับบริบทการจัดการศึกษาสำหรับเด็กด้อยโอกาส และเป็นแนวทางในการบริหารทรัพยากรบุคคลสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาและหน่วยงานต้นสังกัด |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6348 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63030967.pdf | 8.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.