Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6347
Title: การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าตากสินมหาราชในระแหงบนฐานชุมชน เพื่อสร้างเยาวชนนักสื่อความหมาย สำหรับนักเรียนมัธชมศึกษาตอนปลาย
COMMUNITY-BASED LEARNING ACTIVITY MANAGEMENT ON THE HISTORY OF RAHAENG DURING TAKSIN THE GREAT PERIOD FOR THE DEVELOPMENT OF YOUNG INTERPRETER AT THE HIGH SCHOOL IEVEI
Authors: SUDALAK KAMLAMPANG
สุดาลักษณ์ คำลำปาง
Nattachet Pooncharoen
ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ
Naresuan University
Nattachet Pooncharoen
ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ
Nattachetp@nu.ac.th
Nattachetp@nu.ac.th
Keywords: กิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าตากสินมหาราช
ในเมืองระแหงบนฐานชุมชน
เยาวชนนักสื่อความหมาย
Learning activities about the history of King Taksin the Great
In Rahaeng on community-based
Youth communicators
Issue Date: 2564
Publisher: Naresuan University
Abstract: The objective of this research is to 1) study the present condition of historical learning management in the reign of King Taksin the Great in the city of Rahaeng and 2) organize learning activities to develop the skills of youth interpreters of history in the reign of King Taksin the Great in the city of Rift on a community base. This research is qualitative research. The key informants in the research were divided into 7 groups of 37 people, namely, 3 people studying the current state of learning management of Taksin the Great's reign in Rahaeng and 34 studying the history of Taksin the Great's reign in the Rahaeng on a community base. People consist of village philosophers, students, school directors, and people who have experience in teaching management in schools and government agencies. who are Grade 10 students in the second semester of the 2021 academic year at Thungfa Wittayakhom school. Research tools are 1) a participant observation form and 2) in-depth interview questions. The methods of collecting information are: 1) The study gathered information from the documents. Documents or information related to research, 2) the technique of participatory observation, and 3) an in-depth interview. Qualitative data analysis uses the inductive summary analysis method. By analyzing the summaries of the data from the historical interpretation video innovation of King Taksin the Great's reign in the community-based city to promote descriptive historical tourism. An advisor reviewed methods for ensuring the quality and reliability of the data. The results of the research revealed that the present condition of the historical learning management in the reign of King Taksin the Great, the lecture learning management based on mainstream history, the spread of the novel coronavirus disease 2019, or COVID-19, cannot be visited in the area. Learning about the history of the reign of King Taksin the Great in Rahaeng on a community base Students learn active learning, which is an exercise in working in groups. Real learning takes place when educators follow a step-by-step plan and develop learning skills in the 21st century.
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าตากสินมหาราชในเมืองระแหง 2) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ทักษะเยาวชนนักสื่อความหมายประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าตากสินมหาราชในเมืองระแหงบนฐานชุมชน งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลัก จำนวน 33 คน ได้แก่ ศึกษาสภาพปัจจุบันของการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าตากสินมหาราชในเมืองระแหง ศึกษาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าตากสินมหาราชในเมืองระแหงบนฐานชุมชน  ประกอบด้วย  ปราชญ์ชาวบ้าน  ผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้มีประสบการณ์ด้านการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา  2564  โรงเรียนทุ่งฟ้าวิทยาคม  เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย  1) แบบสังเกตแบบมีส่วนร่วม 2) แนวคำถามในการสัมภาษณ์เชิงลึก การเก็บรวบรวมข้อมูล 1) การศึกษารวบรวมข้อมูลจากเอกสารหรือข้อมูลที่เกี่ยวกับงานวิจัย 2) วิธีการสังเกตแบบมีส่วนร่วม 3) วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการวิเคราะห์สรุปอุปนัย โดยการวิเคราะห์สรุปข้อมูลจากนวัตกรรมของนักเรียนสื่อความหมายประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าตากสินมหาราชในเมืองระแหงบนฐานชุมชนแบบพรรณนา วิธีการตรวจสอบคุณภาพความน่าเชื่อถือของข้อมูลโดยอาจารย์ที่ปรึกษาตรวจสอบ ผลการวิจัย พบว่า สภาพปัจจุบันการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าตากสินมหาราชจัดการเรียนรู้ด้วยการบรรยาย เล่าเรื่อง เป็นเนื้อหาประวัติศาสตร์กระแสหลัก การแผ่ระบาดไวรัสโคโรนาหรือโควิด-19 ไม่สามารถลงพื้นที่ได้ การเรียนรู้ประวัติศาสตร์สมัยพระเจ้าตากสินมหาราชในเมืองระแหงบนฐานชุมชน นักเรียนเกิดการเรียนรู้แบบ Active learning เป็นการฝึกกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม  การวางแผนเป็นขั้นตอน  และพัฒนาทักษะการเรียนรู้ในคริสต์ศตวรรษที่ 21 นักสื่อความหมายในการวิจัยนี้  คือ  ไม่ใช่คนที่แค่พูดอย่างเดียว  แต่ต้องนำเสนอผ่านเรื่องราว ผ่านการแสดง ผ่านเพลง ผ่านอาหาร ผ่านภาษาถิ่น แต่ทั้งหมดนี้ คือ การนำเสนอประวัติศาสตร์ท้องถิ่นเมืองระแหงเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6347
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SudalakKamlampang.pdf4.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.