Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6346
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | NONTAYA WARTKUNCHORN | en |
dc.contributor | นนท์ธยา วาทกุลชร | th |
dc.contributor.advisor | Nattachet Pooncharoen | en |
dc.contributor.advisor | ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:49:53Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:49:53Z | - |
dc.date.created | 2022 | en_US |
dc.date.issued | 3/6/2022 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6346 | - |
dc.description.abstract | This research aims to develop historical learning activities in the old city of Nan by using the investigation process together with the game conception concept. For students in Mathayom 3, Srisawatwittayakarnchangwatnan School, Nan Province which is a qualitative research. The main informant groups are the learners, historical educators, and a group of teachers who has experience in teaching and learning management in schools, totaling 45 people, with the research area scopes, which are Nai Wiang Sub-district, Mueang Nan District and Muang Tut Sub - district, PhuPiang District, Nan Province. The data was analyzed, using inductive summaries by descriptive notes. and to check the reliability of the triangular pattern by data collection method. For students in Mathayom 3, Srisawatwittayakarnchangwatnan School, Nan Province. It is an activity to learn about the local history of Nan province which focuses on the learners to acquire skills from learning in the form of Active Learning by using the process of searching for knowledge consisting of 5 important steps which are interest - building or engagement, exploration and discovery, explanation, elaboration and evaluation. Throughout the course of the knowledge investigation, the researcher uses the concept of gamification such as name points, badges, and rankings, to stimulate learners' enthusiasm in learning. The results of the research revealed that there are four important issues, namely, learners, teachers, media and learning resources, and learning activities. As a result, learners are awakened to the local history of Nan Province that is related to Thai history. This will make learners have the persistence of knowledge towards sustainable development as well as leading to the awareness of their local love | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในพื้นที่เมืองเก่าน่าน โดยใช้กระบวนการสืบสอบร่วมกับแนวคิดเกมมิฟิเคชัน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน ซึ่งเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ กลุ่มผู้เรียน กลุ่มผู้ให้ความรู้ทางประวัติศาสตร์ และกลุ่มครูผู้มีประสบการณ์ด้านการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียน รวมทั้งสิ้น 45 คน โดยมีขอบเขตพื้นที่การวิจัย คือ ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน และตำบลม่วงตึ๊ด อำเภอภูเพียง จังหวัดน่าน ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสรุปอุปนัยโดยบันทึกพรรณนา และตรวจสอบความน่าเชื่อถือแบบสามเส้าด้วยวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า กิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในพื้นที่เมืองเก่าน่านโดยใช้กระบวนการสืบสอบร่วมกับแนวคิดเกมมิฟิเคชัน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของจังหวัดน่าน ที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดทักษะจากการเรียนรู้ในรูปแบบ Active Learning โดยใช้ขั้นตอนของการสืบสอบหาความรู้ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนตอนที่สำคัญ ได้แก่ ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) ขั้นสำรวจและค้นหา (Exploration) ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป (Explanation) ขั้นขยายความรู้ (Elaboration) และขั้นประเมิน (Evaluation) ตลอดช่วงของการดำเนินการสืบสอบหาความรู้มีการนำแนวคิดเกมมิฟิเคชัน ได้แก่ มีการให้แต้ม เหรียญตรา และการจัดตารางอันดับ เพื่อกระตุ้น โน้มน้าวให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการสืบสอบหาความรู้ ผลการวิจัย พบว่า มีประเด็นสำคัญอยู่ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านผู้เรียน ด้านผู้สอน ด้านสื่อและแหล่งเรียนรู้ และด้านกิจกรรมการเรียนรู้ ส่งผลให้ผู้เรียนเกิดการตื่นรู้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นของจังหวัดน่านที่มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกับประวัติศาสตร์ชาติไทย ทำให้เกิดความคงทนของความรู้สู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ตลอดจนนำไปสู่การมีจิตสำนึกรักท้องถิ่นของตน | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ประวัติศาสตร์ในพื้นที่เมืองเก่าน่าน | th |
dc.subject | กระบวนการสืบสอบ | th |
dc.subject | แนวคิดเกมมิฟิเคชัน | th |
dc.subject | History of Nan old city area | en |
dc.subject | Investigation process | en |
dc.subject | Gamification | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | HISTORY LEARNING ACTIVITY OF NAN OLD CITY AREA BY USING GROUP INVESTIGATION PROCESS AND GAMIFICATION FOR THIRD YEAR SECONDARY SCHOOL STUDENTS AT SRISAWATWITTAYAKARNCHANGWATNAN SCHOOL | en |
dc.title | กิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในพื้นที่เมืองเก่าน่าน โดยใช้กระบวนการสืบสอบร่วมกับแนวคิดเกมมิฟิเคชัน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนศรีสวัสดิ์วิทยาคารจังหวัดน่าน | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Nattachet Pooncharoen | en |
dc.contributor.coadvisor | ณัฐเชษฐ์ พูลเจริญ | th |
dc.contributor.emailadvisor | Nattachetp@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | Nattachetp@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62090108.pdf | 6.83 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.