Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6337
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Thatsarin Intanam | en |
dc.contributor | ธรรฒน์ศฤณ อินทนาม | th |
dc.contributor.advisor | Monasit Sittisomboon | en |
dc.contributor.advisor | มนสิช สิทธิสมบูรณ์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-11-20T04:49:50Z | - |
dc.date.available | 2024-11-20T04:49:50Z | - |
dc.date.created | 2023 | en_US |
dc.date.issued | 6/6/2023 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6337 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research were 1) to construct and investigate the quality of instructional of coaching-mentored process, 2) to implement and study the results of Coaching-Mentored process, and 3) to study the satisfaction towards the coaching-mentored process based on Constructionism theory to enhance the ability of constructing and using the digital media for internship student teachers under the Rajabhat University consortium. The research method consisted of 3 steps. Step 1 was construction and investigation in the quality of instructional of Coaching-Mentored process, there were 1.1) to syntheses the coaching-mentored process according to the opinions of connoisseurs/ experts and documentary result of literature review, and 1.2) to analyze the quality of coaching-mentored process that yield to effectiveness index. Step 2 was implementation and study in the results of coaching-mentored process, there were 2.1) to compare the mean of constructing and using the digital media ability of internship student teachers between its before and after they reached Coaching-Mentored process by using the dependent sample t – test, and 2.2) to compare the mean of their abilities between its after they reached coaching-mentored process and the set of criteria at 70 percentage of ability score (or 3.50 points of score mean) by using the one sample t – test. Step 3 was a study the satisfaction towards the coaching-mentored process, there were to analyze mean and standard deviation of internship student teachers’ satisfaction, and to compare their satisfaction between actual score and set of criteria that yield to interpret their satisfaction as overviews and sub aspects. The results of research were as follows: 1. The results of constructing the coaching – mentored process revealed that 1.1) the coaching – mentored process was comprised 4 steps; 1) analyzing the problems based on creativity, 2) planning the problem management, 3) creating the work or products, and 4) present and evaluate the work or products. 1.2) the quality of coaching – mentored process which it was the effectiveness index, there was equal to 88 percentage which it was reached the set of criteria. 2. The results of using the coaching – mentored process revealed that 2.1) internship student teachers had more ability of constructing and using the digital media than its before using the coaching – mentored process with the statistical significance of 0.01 level, and 2.2) their abilities were reached the set of criteria with the statistical significance of 0.01 level too. 3. The result of studying the satisfaction of internship student teachers toward the coaching – mentored process revealed that the overviews and sub aspects of their satisfactions were at very high level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสร้างและตรวจสอบคุณภาพของกระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง 2) เพื่อทดลองใช้และศึกษาผลการใช้กระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง และ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อกระบวนการสอนงานโดยใช้กระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้างและใช้สื่อดิจิทัล สำหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ การดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การสร้างและตรวจสอบคุณภาพของกระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง โดย 1.1) สังเคราะห์กระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง ตามความคิดเห็นของผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญ และเอกสารที่เกี่ยวข้อง และ 1.2) วิเคราะห์คุณภาพของกระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง ซึ่งเป็นค่าดัชนีประสิทธิผล ขั้นตอนที่ 2 การทดลองใช้และศึกษาผลการใช้กระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง โดย 2.1) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของความสามารถในการสร้างและใช้สื่อดิจิทัลของนักศึกษา ระหว่างก่อนและหลังการสอนงานโดยใช้สถิติทดสอบทีแบบสัมพันธ์กัน และ 2.2) เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของความสามารถในการสร้างและใช้สื่อดิจิทัลของนักศึกษา ระหว่างหลังการสอนงานกับเกณฑ์ที่กำหนด คือ ร้อยละ 70 ของคะแนนระดับความสามารถ (ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 3.50 คะแนน) โดยใช้สถิติทดสอบทีแบบกลุ่มเดียว และ ขั้นตอนที่ 3 การศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการสอนงานโดยใช้กระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยงของนักศึกษา โดยวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และเปรียบเทียบกับเกณฑ์เพื่อแปลผลเป็นรายข้อและภาพรวม ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการสร้างและตรวจสอบคุณภาพของการพัฒนากระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง พบว่า 1.1) กระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง ประกอบด้วย 4 ขั้นตอน คือ 1) วิเคราะห์ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ 2) วางแผนจัดการปัญหา 3) สร้างสรรค์ชิ้นงาน และ 4) นำเสนอผลงานคู่การประเมิน และ 1.2) คุณภาพของกระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง ในภาพรวมมีค่าดัชนีประสิทธิผล คิดเป็นร้อยละ 88 ซึ่งบรรลุเกณฑ์ที่กำหนดไว้ 2. ผลการทดลองใช้กระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง พบว่า 2.1) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูมีสามารถในการสร้างและใช้สื่อดิจิทัลหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2.2) นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูมีสามารถในการสร้างและใช้สื่อดิจิทัลหลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการสอนงานโดยใช้กระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง พบว่า นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูมีความพึงพอใจในภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | กระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง | th |
dc.subject | ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน | th |
dc.subject | ความสามารถในการสร้างและใช้สื่อดิจิทัล | th |
dc.subject | Coaching-Mentored process | en |
dc.subject | Constructionism Theory | en |
dc.subject | Ability of constructing and using the digital media | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for teachers with subject specialisation | en |
dc.title | DEVELOPMENT OF COACHING – MENTORED PROCESS BASED ON CONSTRUCTIONISM THEORY TO ENHANCE THE ABILITY OF CONSTRUCTING AND USING THE DIGITALMEDIA FOR INTERNSHIP STUDENT TEACHERS UNDER THE RAJABHAT UNIVERSITY CONSORTIUM | en |
dc.title | การพัฒนากระบวนการสอนงานแบบพี่เลี้ยง ตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองโดยการสร้างสรรค์ชิ้นงาน เพื่อส่งเสริมความสามารถในการสร้างและใช้สื่อดิจิทัลหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มหาวิทยาลัยราชภัฏ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Monasit Sittisomboon | en |
dc.contributor.coadvisor | มนสิช สิทธิสมบูรณ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | monasits@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | monasits@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Doctor of Education (Ed.D.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
58030764.pdf | 5.44 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.