Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6336
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKwanchanok Areewongen
dc.contributorขวัญชนก อารีย์วงศ์th
dc.contributor.advisorVichayanan Rattanawiboonsomen
dc.contributor.advisorวิชญานัน รัตนวิบูลย์สมth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-20T04:11:51Z-
dc.date.available2024-11-20T04:11:51Z-
dc.date.created2023en_US
dc.date.issued19/11/2023en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6336-
dc.description.abstractThis study is mixed-method research, including a survey and case study. The purpose of the survey study was to survey the lean implementation maturity level of the hospitals in Thailand and to explore the differences across hospital types on lean implementation maturity level. The purpose of the case study was to develop a framework for a lean implementation approach for hospitals in Thailand. The instruments of this study, the online questionnaire and semi-structured interview questions, were validated by experts in lean in healthcare. The total number of returned and completed questionnaires was 160. Two hospitals met the inclusion criteria and accepted the study as the case study. The survey results showed that most hospitals in Thailand implemented lean at a medium maturity level and significantly differed in total score, lean activity domain and lean culture domain. By the groups of hospitals, the regional hospital group had the highest mean score in all domains. However, solely between the regional and community hospital groups had significant differences in total score and lean activity domain mean score.   The case study results showed the lean implementation approach of hospitals in Thailand, including Leader, Employee and Perception.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน แบ่งการวิจัยออกเป็นสองส่วน ส่วนแรกเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีจุดประสงค์ในการวิจัยเพื่อสำรวจถึงระดับการเติบโตของการนำแนวคิดลีนหรือระบบการผลิตแบบลีนของโรงพยาบาลในประเทศไทยและเพื่อศึกษาความแตกต่างของระดับการนำลีนมาใช้ในโรงพยาบาลระหว่างกลุ่มประเภทโรงพยาบาลที่แตกต่างกัน และการวิจัยส่วนที่สองเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการวิจัยเพื่อศึกษาแนวทางในการนำแนวคิดลีนมาใช้ในโรงพยาบาลของประเทศไทยให้ประสบความสำเร็จและเพื่อสร้างกรอบวิธีการปฏิบัติในการนำแนวคิดลีนมาใช้ในโรงพยาบาลของประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์และวิธีสัมภาษณ์เชิงลึกซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาคุณภาพในโรงพยาบาล ตามลำดับ โดยได้รับการตอบรับแบบสอบถามครบถ้วน จำนวน 160 ฉบับ และโรงพยาบาลที่ตอบรับและอยู่ภายใต้เงื่อนไขในการเข้าเก็บข้อมูลแบบสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 2 แห่ง ผลการศึกษาเชิงปริมาณพบว่า โรงพยาบาลส่วนใหญ่ในประเทศไทยมีระดับการนำลีนไปใช้อยู่ในระดับมีการนำไปใช้ในเพียงบางส่วนของโรงพยาบาล โดยกลุ่มโรงพยาบาลศูนย์มีค่าเฉลี่ยของระดับความเติบโตของการนำลีนมาใช้ในโรงพยาบาลสูงที่สุด และพบว่าค่าเฉลี่ยของคะแนนระดับการเติบโตของการนำลีนไปใช้ในโรงพยาบาล ระหว่างกลุ่มโรงพยาบาลศูนย์ และกลุ่มโรงพยาบาลชุมชนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ     ผลการศึกษาเชิงคุณภาพพบว่า แนวทางในการนำแนวคิดลีนมาใช้ในโรงพยาบาลของประเทศไทยให้ประสบความสำเร็จประกอบด้วย องค์ประกอบด้านผู้นำ องค์ประกอบด้านพนักงาน และองค์ประกอบด้านการสร้างการรับรู้th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการพัฒนาคุณภาพth
dc.subjectการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลth
dc.subjectลีนth
dc.subjectการผลิตแบบลีนth
dc.subjectQuality improvementen
dc.subjectHospital quality improvementen
dc.subjectLeanen
dc.subjectLean productionen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationAdministrative and support service activitiesen
dc.subject.classificationManagement and administrationen
dc.titleTHE STUDY OF QUALITY IMPROVEMENT BY APPLYING THE LEAN APPROACH: SURVEY AND CASE STUDIES OF HOSPITALS IN THAILANDen
dc.titleการศึกษาการพัฒนาคุณภาพโดยใช้แนวทางลีน: การสำรวจและกรณีศึกษาโรงพยาบาลในประเทศไทยth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorVichayanan Rattanawiboonsomen
dc.contributor.coadvisorวิชญานัน รัตนวิบูลย์สมth
dc.contributor.emailadvisorvichayananr@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorvichayananr@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Business Administrationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหารธุรกิจth
Appears in Collections:คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60032131.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.