Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6325
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNATKITTA KIATTIKANen
dc.contributorนัฐกฤตา เกียรติกาญจน์th
dc.contributor.advisorThirasak Uppamaiathichaien
dc.contributor.advisorธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-10-09T02:14:27Z-
dc.date.available2024-10-09T02:14:27Z-
dc.date.created2022en_US
dc.date.issued2/6/2022en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6325-
dc.description.abstractThe purposes of this study were 1) to examine the elements of innovative thinking skills of school administrators, and 2) to analyze the elements of innovative thinking skills of school administrators. The research method was divided into two part. The first one, to study the elements of innovative thinking skills of school administrators using a synthesis of concepts, documents and related studies for 10 samples. The second one, to analyze the elements of innovative thinking skills of school administrators applying the questionnaire of school administrators’ innovative thinking skills with 253 school administrators. The data were analyzed using a confirmatory factor analysis (CFA) model by SPSS for windows and Mplus Program. The result of the study presented that school the elements of Innovative Thinking Skills.in the digital age consisted of 3 elements, Observing, Associative thinking, and Technical knowledge.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)  เพื่อศึกษาองค์ประกอบของทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดกำแพงเพชร และ 2) เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบของทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดกำแพงเพชร โดยวิธีดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบของทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โดยใช้การสังเคราะห์แนวคิด เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องจากนักวิชาการ จำนวน 10 รายการ และการวิเคราะห์องค์ประกอบของทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา โดยใช้แบบสอบถามเรื่อง ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา กับผู้บริหารสถานศึกษาจำนวน  253  คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน (CFA) ด้วยโปรแกรม SPSS for windows และ Mplus ผลการวิจัย พบว่า ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดกำแพงเพชร ประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 การสังเกต (Observing)   องค์ประกอบที่ 2 การคิดเชื่อมโยง (Associative thinking)   และองค์ประกอบที่ 3 การมีความรู้ทางเทคนิค (Technical knowledge)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectทักษะการคิดth
dc.subjectทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมth
dc.subjectองค์ประกอบของทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมth
dc.subjectThinking Skillsen
dc.subjectInnovative Thinking Skillsen
dc.subjectThe elements of Innovative Thinking Skillsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleA STUDY OF THE ELEMENTS OF INNOVATIVE THINKING SKILLS FOR SCHOOL ADMINISTRATORS IN KAMPHAENG PHET EDUCATION SERVICE AREA OFFICEen
dc.titleการศึกษาองค์ประกอบของทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา จังหวัดกำแพงเพชรth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorThirasak Uppamaiathichaien
dc.contributor.coadvisorธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัยth
dc.contributor.emailadvisorthirasaku@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorthirasaku@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63071304.pdf3.67 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.