Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6324
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | KRITCHAPORN SINPROM | en |
dc.contributor | กฤชพร สินพรม | th |
dc.contributor.advisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.advisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-10-09T02:14:26Z | - |
dc.date.available | 2024-10-09T02:14:26Z | - |
dc.date.created | 2022 | en_US |
dc.date.issued | 2/6/2022 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6324 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to study teacher’s learning management with digital media and guidelines to promote teacher’s learning management with digital media under Phetchabun primary educational service area office 3. The research methodology consisted of 2 steps. The first step was studying teacher’s learning management with digital media under Phetchabun primary educational service area office 3. The sample group consisted of 327 teachers under Phetchabun primary educational service area office 3. By Using the Krejcie and Morgan table to determine the sample size and choose the sample group by stratified random sampling method based on the proportion of teachers in each district. The tool of data collection was a 5 rating scale questionnaire. The data were analyzed by mean and standard deviation. The second step was studying guidelines to promote teacher’s learning management with digital media under Phetchabun primary educational service area office 3. The informants were 5 experts acquired by purposive sampling. The tool of data collection was a structured interview. Data were analyzed by content analysis. The study results were as follows: 1. The study of teacher’s learning management with digital media under Phetchabun primary educational service area office 3 overall was at a high level. Considering each aspect was found that the highest average was creating a learning plan, followed by course analysis and the lowest average was learner needs analysis. 2. The study of guidelines to promote teacher’s learning management with digital media under Phetchabun primary educational service area office 3 found that it should be training workshops to provide knowledge and advice on how to use digital media appropriately in the context of learners. Including supervision, monitoring and support for effective learning management with digital media in response to the policy of developing learning management in the digital era. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อดิจิทัลของครูและศึกษาแนวทางส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 โดยผู้วิจัยได้แบ่งขั้นตอนการวิจัยเป็น 2 ขั้น คือ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาสภาพการจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 จำนวน 327 คน โดยใช้ตารางสําเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน และเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนของครูในแต่ละอำเภอ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาการจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็น รายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการจัดทำแผนการเรียนรู้ รองลงมา คือ ด้านการวิเคราะห์หลักสูตร และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการวิเคราะห์ความต้องการของผู้เรียน 2. ผลการศึกษาแนวทางส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 พบว่า ควรมีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้และแนะนำแนวทางในการนำสื่อดิจิทัลไปใช้ตามบริบทของผู้เรียนอย่างเหมาะสม รวมทั้งมีการนิเทศ ติดตาม และสนับสนุนให้การจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อดิจิทัลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพเพื่อตอบสนองนโยบายการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | แนวทางส่งเสริม | th |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้ของครู | th |
dc.subject | สื่อดิจิทัล | th |
dc.subject | Guidelines to Promote | en |
dc.subject | Teacher’s Learning Management | en |
dc.subject | Digital Media | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | GUIDELINES TO PROMOTE TEACHER’S LEARNING MANAGEMENT WITH DIGITAL MEDIA UNDER PHETCHABUN PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3 | en |
dc.title | แนวทางส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อดิจิทัลของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 | th |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.coadvisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.emailadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
63071274.pdf | 3.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.