Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6323
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSUPHAKORN PHOEMPHUNen
dc.contributorศุภกรณ์ เพิ่มพูลth
dc.contributor.advisorAnucha Kornpuangen
dc.contributor.advisorอนุชา กอนพ่วงth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-10-09T02:14:26Z-
dc.date.available2024-10-09T02:14:26Z-
dc.date.created2022en_US
dc.date.issued2/6/2022en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6323-
dc.description.abstractThe main purposes of this experimental research are 1) to assess the need in development of classroom action research (CAR) by creating learning ethnics compliance community with the volunteer spirit 2) to construct the methods and to make the guidebook for development of classroom action research (CAR) by creating learning ethnics compliance community with the volunteer spirit 3) to prove and evaluated for the guidebook for development of classroom action research (CAR) by creating learning ethnics compliance community with the volunteer spirit by being action research from several important source of data 1) 16 Bangmunnakphoomiwitthayakhom School teachers 2) There is research Instrument is the guidebook for development of classroom action research (CAR) by creating learning ethnics compliance community with the volunteer spirit, it showed that the model as a whole was appropriate at  is at the highest level.     The findings were as follows: 1) The results showed that needs are in the highest priority of CAR according to PAOR process : 1) preparation of an implementation plan, 2) involvement in the student's problem solving, and 3) creation of research Instrument and quality checks. and 4) the opportunity for those involved in the research to discuss the results and criticize the research in order to learn about the research for solution to develop CAR. It was developed by using the operational training, reviewing methods, procedures from experts or from specialists who actually practiced by conducting process of CAR. Therefore, the last step was transforming attitudes and perspectives in doing research is to improve learning and solve student problems by teachers’ team. 2) The results construction methods and the guidebook for development of classroom action research (CAR) by creating learning ethnics compliance community with the volunteer spirit. The guidebook consists of 1) sources of guidebook 2) details of guidebook 3) applications of guidebooks, it has been developed in 3 phases: Module 1 “Beginning of the change workshop”, Module 2 “Brainstorming for the change” and Module 3 “Becoming the idea” 3) The usage and evaluated for the guidebooks development of classroom action research (CAR) by creating learning ethnics compliance community with the volunteer spirit.. After using the guidebook found that there were the training teachers is higher than before training with .05 significant level and the results from the evaluation of guidebooks from reflection was effective. It showed that guidebooks are easy to understand and can be used to expand results.en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้เป็นงานวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนโดยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูร่วมกับจิตศึกษา 2) เพื่อสร้างแนวทางและคู่มือการพัฒนาการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนโดยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูร่วมกับจิตศึกษา 3) เพื่อทดลองใช้และประเมินคู่มือแนวทางการพัฒนาการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนโดยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูร่วมกับจิตศึกษา โดยเป็นวิจัยเชิงปฏิบัติการแหล่งข้อมูลที่สำคัญ คือ 1) ครูโรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม จำนวน 16 คน 2) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย คู่มือแนวทางการพัฒนาการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนโดยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูร่วมกับจิตศึกษามีคุณภาพความเหมาะสม โดยภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ระดับมากที่สุด  1. ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการจำเป็นในลำดับสูงสุด สำหรับการพัฒนาการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนในแต่ละขั้นตอนของ PAOR คือ 1) การเตรียมแผนสู่การปฏิบัติ 2) การให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหา  3) การสร้างเครื่องมือและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ และ 4) การเปิดโอกาสให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการวิจัยร่วมกันอภิปรายผลและวิพากษ์วิจารณ์งานวิจัยเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ในสิ่งที่วิจัย และพบแนวทางพัฒนาที่สำคัญ คือ การอบรมทบทวนวิธีการ ขั้นตอน จากผู้เชี่ยวชาญหรือจากผู้ที่ลงมือปฏิบัติ รวมทั้งสร้างทีมงานในการขับเคลื่อน วางรูปแบบการดำเนินการวิจัยเป็นขั้นตอนให้กับครู และแก้ปัญหาผู้เรียนโดยการรวมกลุ่มในการแก้ปัญหาร่วมกัน 2. ผลการสร้างแนวทางและคู่มือการพัฒนาการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนโดยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูร่วมกับจิตศึกษา พบว่า คู่มือ ประกอบด้วย 1) ที่มาของคู่มือ 2) รายละเอียดของคู่มือ 3) การนำคู่มือไปใช้โดยมีการพัฒนาใน 3 ระยะ ได้แก่ โมดูล 1 “การอบรมเชิงปฎิบัติการ ก่อการกล้าเปลี่ยนแปลง” โมดูล 2 “ร่วมเรียนรู้ สร้างการเปลี่ยนแปลง” และ โมดูล 3 “ถอดบทเรียนต่อยอดความงอกงาม” 3. เพื่อทดลองใช้และประเมินคู่มือการพัฒนาการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนโดยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูร่วมกับจิตศึกษา หลังนำคู่มือไปทดลองใช้ พบว่า ครูเข้าร่วมการพัฒนาการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน มีระดับความสามารถการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน หลังการอบรมสูงกว่าก่อนการอบรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และผลการประเมินคู่มือ พบว่า คู่มือมีความชัดเจน เข้าใจง่ายสามารถนำไปใช้ในการขยายผลได้th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการประเมินความต้องการจำเป็น ,การทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน, ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ ,จิตศึกษาth
dc.subjectNeeds Assessment Classroom Action Research Professional Learning Community JITTASUKSAen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleDEVELOPING CLASSRO0M ACTION RESEARCH BY USING PROFESSIONAL LEARNING COMMUNITY FOR TEACHER AND JITTASUKSA OF BANGMUNNAKPHOOMIWITTHAYAKHOM SCHOOL UNDER THE SECONDARY EDUCATION SERVICE AREA OFFICE PHICHITen
dc.titleการพัฒนาการทำวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนโดยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพของครูร่วมกับจิตศึกษาโรงเรียนบางมูลนากภูมิวิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตรth
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorAnucha Kornpuangen
dc.contributor.coadvisorอนุชา กอนพ่วงth
dc.contributor.emailadvisoranuchako@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisoranuchako@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63071236.pdf9.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.