Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6317
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRAWEEWAN GATEMAen
dc.contributorระวีวรรณ เกตุมะth
dc.contributor.advisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.advisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-10-09T02:14:24Z-
dc.date.available2024-10-09T02:14:24Z-
dc.date.created2022en_US
dc.date.issued2/6/2022en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6317-
dc.description.abstractThe objective of this research was to study the academic administrations and guidelines of academic administration for developing mathematics learning achievement in The National Test (NT) of primary 3 students of schools under the Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 3. The first step was to study the academic administration for developing mathematics learning achievement in National Test (NT). The sample group consisted of 181 administrators and teachers who teach in primary 3 of schools under the Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 3 which is divided into 89 administrators and 92 teachers, acquired by stratified random sampling method based on the proportion of administrators and teachers in each district. The data was collected by questionnaire. The statistics used for data analysis were mean and standard deviation. The second step was to study the guidelines of academic administration for developing mathematics learning achievement in The National Test (NT). The informant group was 5 experts acquired by purposive sampling. The data was collected by Interview and were analyzed by content analysis. The results of the study were as follows: 1. The academic administrations for developing mathematics learning achievement in the National Test (NT) of primary 3 students of schools under the Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 3 overall were at a high level. When considering each aspect. The highest mean aspect was learning management and development. The lowest mean aspect was academic supervision. 2. The guidelines of academic administration for developing mathematics learning achievement in the National Test (NT) of primary 3 students of schools under the Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 3 found that Administrators and teachers should measurement of mathematics learning achievement in National Test (NT) to analyze. And provide opportunities for teachers to set goals for improving the quality of mathematics learning, and continually develop school curriculum together. Administrators promote and support teachers to use a variety of learning processes, media, and technologies, including doing classroom research and supervision. To use the results of supervision to improve learning management methods for developing learners to be effective in mathematics learning achievement.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการบริหารงานวิชาการและแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านคณิตศาสตร์ (NT) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 โดยวิธีดำเนินการวิจัย ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านคณิตศาสตร์ (NT) กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครูประจำชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 จำนวน 181 คน ซึ่งแบ่งเป็นผู้บริหาร 89 คน และครู 92 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้นตามสัดส่วนของผู้บริหารและครูผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 แต่ละอำเภอในสังกัด เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และขั้นตอนที่ 2 ศึกษาแนวทางทางการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านคณิตศาสตร์ (NT) กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ได้โดยการเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านคณิตศาสตร์ (NT) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการจัดและพัฒนาการเรียนรู้ และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการนิเทศการศึกษา 2. ผลการศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านคณิตศาสตร์ (NT) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3 พบว่า ผู้บริหารและครูควรร่วมกันนำผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านคณิตศาสตร์มาพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์การประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านคณิตศาสตร์ (NT) มาวิเคราะห์ เปิดโอกาสให้ครูร่วมกำหนดเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนด้านคณิตศาสตร์ พร้อมทั้งพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาร่วมกันอย่างต่อเนื่อง โดยผู้บริหารส่งเสริม สนับสนุนครูในการใช้กระบวนการเรียนรู้ สื่อ เทคโนโลยีที่หลากหลาย รวมถึงการทำวิจัยในชั้นเรียนและการนิเทศ เพื่อนำผลการนิเทศมาพัฒนาปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนรู้ในการพัฒนาผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์การประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านคณิตศาสตร์th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการบริหารงานวิชาการth
dc.subjectการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT)th
dc.subjectคณิตศาสตร์th
dc.subjectAcademic Administrationen
dc.subjectNational Test (NT)en
dc.subjectMathematicsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleThe study of academic administrations for developing mathematics learning achievement in The National Test (NT) of primary 3 students of schools under the Phitsanulok Primary Educational Service Area Office 3.en
dc.titleการบริหารงานวิชาการเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์การประเมินคุณภาพผู้เรียนด้านคณิตศาสตร์ (NT) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.coadvisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.emailadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63070604.pdf3.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.