Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6291
Title: Servant leadership and guidelines for the development leadership of principal group 5 of Special Education Bureau.
การศึกษาภาวะผู้นำใฝ่บริการ และแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่ม 5 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
Authors: Siripron Nankew
ศิริพร หนานแก้ว
Taweesak Sawangmek
ทวีศักดิ์ สว่างเมฆ
Naresuan University
Taweesak Sawangmek
ทวีศักดิ์ สว่างเมฆ
taweesaksa@nu.ac.th
taweesaksa@nu.ac.th
Keywords: ภาวะผู้นำ
ใฝ่บริการ
ผู้บริหารสถานศึกษา
Servant
Leadership
Principal
Issue Date:  17
Publisher: Naresuan University
Abstract: The objective of this time is  to study the servant leadership of principal and Study guidelines for the development of principal in group 5 of Special Education Bureau principal and teacher in school in group 5 of Special Education Bureau In the academic year 2023 There are 10principal, 17 deputy directors and 221 teachers, for a total of 248 students The study found that the servant leadership of principal in group 5 of special education bureau overall at the high level. When considering each aspect, in descending order, it can be as follows: selflessness, empowerment, service, and humility and found that the guidelines for the development of principal in group 5 of Special Education Bureau In order of the following aspects: 1. Empowerment : principal should develop themselves to be knowledgeable to consultation, provide useful information, support, facilitate, supervise and giving morales. 2. Services : principal should pay attention to be advisors for facilitate and ready to support  the personals in all aspects, they will work with their hearts, not following in orders. 3. Humility : Principal should honor their subordinates and respectful to their elder people, even if they are subordinate to us. 4. Selflessness : principal should provide opportunities for everyone to participate and let everyone be an integral part of the organization, proud of the achievement that have been achieved, it will cause people to love organization more than their own benefit, being a good role model for the subordinates. For example, Do not encroach on official time to do personal work. Do not use government vehicles for personal use.
วัตถุประสงค์ครั้งนี้ เพื่อศึกษาภาวะผู้นำใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษา และศึกษาแนวทางในการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษากลุ่ม 5  สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษผู้บริหารและข้าราชการครูในโรงเรียน กลุ่ม 5 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ผู้บริหารสถานศึกษา ปีการศึกษา 2566 โดยแบ่งออกเป็นผู้บริหารสถานศึกษา 10คน รองผู้อำนวยการ 17 คน และครูจำนวน 221 คน รวมทั้งสิ้น 248 คน ผลการศึกษา พบว่า ภาวะผู้นำใฝ่บริการของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่ม 5 สำนักงานบริหารการศึกษาพิเศษ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ ด้านการไม่เห็นแก่ตัว  ด้านการเสริมพลังอำนาจ  ด้านการบริการ และด้านความนอบน้อมและพบว่า แนวทางในการพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษากลุ่ม 5  สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ เรียงลำดับรายด้าน ดังต่อไปนี้ 1. ด้านการเสริมพลังอำนาจผู้บริหารสถานศึกษาควรพัฒนาตนเองให้มีความรู้ สามารถให้คำปรึกษาแนะนำ ให้ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ สนับสนุน อำนวยความสะดวก ดูแล สร้างขวัญกำลังใจ 2. ด้านการบริการ ผู้บริหารสถานศึกษาควรให้ความใส่ใจเป็นที่ปรึกษา อำนวยความสะดวก และพร้อมที่จะสนับสนุนช่วยเหลือบุคลากรในทุก ๆ ด้าน จะทำให้บุคลากรทำงานด้วยใจ ไม่ใช่ทำตามคำสั่ง 3. ด้านความนอบน้อม ผู้บริหารสถานศึกษาต้องให้เกียรติผู้ใต้บังคับบัญชา และมีสัมมาคารวะต่อผู้อาวุโสหรือผู้ที่มีอายุมากกว่าถึงแม้ว่าบุคคลนั้นจะเป็นผู้ใต้บังคับบัญชาเราก็ตาม 4. ด้านการไม่เห็นแก่ตัว ผู้บริหารสถานศึกษาเปิดโอกาสให้ทุกคนมีส่วนร่วม และทุกคนเป็นส่วนสำคัญขององค์กร แลภาคภูมิใจกับความสำเร็จที่เกิดขึ้น จะทำให้บุคลากรเกิดความรักต่อองค์กรมากกว่าประโยชน์ของตน เป็นตัวอย่างที่ดีให้กับบุคลากร
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6291
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
65071791.pdf2.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.