Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6290
Title: | THE ROLE OF TEACHERS IN PROVIDING EDUCATION FORSPECIAL CHILDRE AT THE EARLY CHILDHOOD LEVEL SPECIALEDUCATION CENTER,EDUCATIONAL AREA 7,PHITSANULOKPROVINCE บทบาทครูในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัย ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก |
Authors: | Waraporn Uttiya วราภรณ์ อุทธิยา Varinthorn Boonying วรินทร บุญยิ่ง Naresuan University Varinthorn Boonying วรินทร บุญยิ่ง Varinthornb@nu.ac.th Varinthornb@nu.ac.th |
Keywords: | บทบาทครู การจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัย The role of teachers organizing education for special children at the early childhood level |
Issue Date: | 23 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The purpose of this research is to study the role of teachers in organizing education for Special children at the early childhood level Special Education Center, Educational Area 7, Phitsanulok Province and study guidelines for developing the role of teachers in providing education for special children at the early childhood level Special Education Center, Educational Area 7, Phitsanulok Province The research method is divided into 2 steps: Step 1: Study of the role of teachers in providing education for special children at the early childhood level. Special Education Center, Educational Area 7, Phitsanulok Province The sample group includes educational institution administrators. Academic head teachers, teachers for the academic year 2023, totaling 112 people. The tool used to collect data was a questionnaire on the role of teachers in providing education for special children at the early childhood level. Special Education Center, Educational Area 7, Phitsanulok Province It has the characteristics of a 5-level estimation scale. The data is analyzed using the average. and standard deviation. Step 2: Study of guidelines for developing teachers' roles in providing education for special children at the early childhood level. Special Education Center, Educational Area 7, Phitsanulok Province The group of information providers includes experts with knowledge and experience in managing education for special children at the early childhood level. Special Education Center, Educational District 7, Phitsanulok Province, 3 people, obtained through purposive selection. The tools used to collect data include an interview form, guidelines for developing teachers' roles in providing education for special children at the early childhood level. Special Education Center, Educational Area 7, Phitsanulok Province and analyzed the data using content analysis. The research results found that
1.Results of the study of the role of teachers in providing education for special children at the early childhood level. Special Education Center, Educational District 7, Phitsanulok Province, in all 5 areas. Overall, it was found that the role of teachers in providing education for special children at the early childhood level The Special Education Center, Educational District 7, Phitsanulok Province, overall is at the highest level. The aspect with the highest average was the aspect of organizing content and activities to be consistent with the interests of the learners. is at the highest level, followed by learning management and taking care of the health and safety of students at the highest level And the aspect with the lowest average is the aspect of organizing learning content to be appropriate for the development of students. 2. The results of the study of guidelines for developing the role of teachers in organizing education for special children at the early childhood level, Special Education Center, Educational District 7, Phitsanulok Province, found that educational institution administrators should enhance understanding of the role of teachers in organizing education for Special children at the early childhood level are regularly given to teachers and personnel. Educational institution administrators should provide training to teachers and personnel in In terms of organizing education for special children at the early childhood level, teachers have plans to Learning management that is consistent with the special needs of each person To increase the potential and differences of students is important. การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทครูในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัย ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก และศึกษาแนวทางในการพัฒนาบทบาทครูในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัย ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก โดยมีวิธีดำเนินการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอนได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาบทบาทครูในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัย ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูหัวหน้าวิชาการ ครูผู้สอน ปีการศึกษา 2566 จำนวน 112 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม เรื่อง บทบาทครูในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัย ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก มีลักษณะเป็นมาตรตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางในการพัฒนาบทบาทครูในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัย ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้และประสบการณ์ในการบริหารการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัย ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 3 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสัมภาษณ์แนวทางในการพัฒนาบทบาทครูในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัย ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษาบทบาทครูในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัย ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก ทั้ง 5 ด้าน ในภาพรวม พบว่า บทบาทครูในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัย ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก ในภาพรวม อยู่ในระดับมากที่สุด ซึ่งด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านจัดเนื้อหาสาระและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจของผู้เรียน อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านจัดการเรียนรู้และดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้เรียน อยู่ในระดับมากที่สุด และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านจัดสาระการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับพัฒนาการของผู้เรียน 2. ผลการศึกษาแนวทางในการพัฒนาบทบาทครูในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัย ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 7 จังหวัดพิษณุโลก พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษาควรเสริมสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับบทบาทครูในการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัยให้แก่ครูผู้สอนและบุคลากรอย่างสม่ำเสมอ ผู้บริหารสถานศึกษาควรมีการอบรมให้ความรู้แก่ครูผู้สอนและบุคลากรในด้านการจัดการศึกษาสำหรับเด็กพิเศษระดับปฐมวัยที่ทำให้ครูผู้สอนนั้นมีวางแผนในการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความต้องการจำเป็นพิเศษของแต่ละบุคคล เพื่อเพิ่มศักยภาพและความแตกต่างของผู้เรียนเป็นสำคัญ |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6290 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
65071609.pdf | 3 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.