Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6286
Title: | การพัฒนารูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทัลร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี DEVELOPMENT OF DIGITAL TECHNOLOGY MANAGEMENT MODEL WITH ACTIVE LEARNING TO ENHANCE CREATIVE THINKING OF UNDERGRADUATE STUDENTS |
Authors: | Sasithorn Namoungon ศศิธร นาม่วงอ่อน Tipparat Sittiwong ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ Naresuan University Tipparat Sittiwong ทิพรัตน์ สิทธิวงศ์ tipparats@nu.ac.th tipparats@nu.ac.th |
Keywords: | เทคโนโลยีดิจิทัล การเรียนรู้เชิงรุก ความคิดสร้างสรรค์ Active Learning Digital Technology Creative Thinking |
Issue Date: | 2567 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The purposes of this research were 1) to develop and and assess the quality of an instructional model, 2) to study the results of using the model, and 3) to propose an instructional model. The sample consisted of undergraduate students. Educational Technology and Communication Faculty of Education Naresuan University who is registered to study the course of Art and Graphic Design, Semester 2, Academic Year 2022, which was obtained by means of purposive sampling, numbering 25 people. Statistics used in the research are mean, standard deviation and t-test dependent.
The results revealed as follows: 1) the developed model has 6 elements, including 1.1) objectives 1.2) content 1.3) active learning activities 1.4) digital technology 1.5) roles of learners and teachers and 1.6) Measurement and evaluation And there are 3 steps in the teaching model: Step 1 preparation step, step 2 learning activity step and step 3 summary step 2) Students who studied with the digital technology management model combined with active learning had significantly higher creativity scores after studying than before studying at the 0.5 level, and students were satisfied with learning with this model. Overall, it is at a high level. 3) The results of an instructional model certification by experts were found that the overall of the model suitability was guaranteed at the high level. การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อสร้างและตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทัลร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี 2) เพื่อศึกษาผลของการใช้รูปแบบฯ และ 3) เพื่อรับรองรูปแบบฯ โดยมีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ลงทะเบียนเรียนรายวิชา พื้นฐานศิลปะและการออกแบบกราฟิก ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ซึ่งได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive sampling) จำนวน 25 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ค่า t-test dependent ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบการจัดการเทคโนโลยีดิจิทัลร่วมกับการเรียนรู้เชิงรุก เพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่พัฒนาขึ้นมี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.1) วัตถุประสงค์ 1.2) เนื้อหา 1.3) กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก 1.4) เทคโนโลยีดิจิทัล 1.5) บทบาทผู้เรียนและผู้สอน และ 1.6) การวัดและประเมินผล และมีขั้นตอนการเรียนการสอนของรูปแบบ 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ขั้นเตรียมความพร้อม ขั้นตอนที่ 2 ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ และขั้นตอนที่ 3 ขั้นสรุป และรูปแบบฯ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก 2) ผลการศึกษาผลของการใช้รูปแบบฯ พบว่า 2.1) นักศึกษาที่เรียนด้วยรูปแบบฯ มีคะแนนความคิดสร้างสรรค์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.5 2.2) ผลการประเมินผลงานกลุ่มของนักศึกษาอยู่ในระดับดี 2.3) นักศึกษามีความพึงพอใจต่อการเรียนด้วยรูปแบบฯ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และ 3) ผลการประเมินรับรองรูปแบบฯ ผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่ารูปแบบฯ มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6286 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SasithornNamoungon.pdf | 1.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.