Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPreeya Leesagulen
dc.contributorปรียา ลี้สกุลth
dc.contributor.advisorYuwayong Juntarawijiten
dc.contributor.advisorยุวยงค์ จันทรวิจิตรth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-09-25T02:40:23Z-
dc.date.available2024-09-25T02:40:23Z-
dc.date.created2024en_US
dc.date.issued23/6/2024en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6285-
dc.description.abstractThis research was quasi-experimental with two groups pretest-posttest design. The purpose of this research aimed to study the effects of dietary promotion program based on Dietary Approached to Stop Hypertension Diet (DASH) on food consumption behaviors and blood pressure among patients with hypertension. The participants of this study were 35-59 years old female hypertensive patients with blood pressure levels of 140-159 or 90-99 mmHg, with a normal BMI, diagnosed with hypertension by a physician in 2022, received services from the health promotion hospital in Bangmunnak District, Phichit Province, and who prepared and consumed their own meals at least once a day. The sample size was 60 persons. The experiment group consisting of 30 participants, received the DASH dietary promotion program based on Self efficacy theory (Bandura, 1997). The control group, consisting of 30 participants, received regular nursing care. The research duration was eight weeks. The research instruments were divided into two parts and were all examined by five experts. Part 1 comprised of the data collection tools consisting of personal information questionnaires, Dash diet behavior questionnaire, and blood pressure recording forms had a content validity index (CVI) of 0.85, 0.88, and 1, respectively. The reliability of food consumption behavior questionnaire, tested by Cronbach's alpha coefficient were 0.84. Part 2 was the dietary promotion program guideline of the DASH, with a CVI of 1. The program consisted of 8 activities: (1) providing knowledge about DASH diet and making a return demonstration on how to select food, (2) goals setting, (3) recording daily food consumption, (4) exchanging experiences on food consumption and apply it, (5) watching sample videos and exchange learning experiences with role model, (6) encouragement for continuous behavior, (7) transferring the VDO about DASH diet via the LINE application, and, (8) Home visits. Statistical analysis included descriptive statistics, paired-sample t-tests, and independent t-tests. The results of the study showed that 1. The experimental group exhibited a statistically significant difference in food consumption behavior after the program, with a significance level of .001. 2. The experimental group had a significantly difference average DASH diet behavior score after the program than the control group with a significance level of .001. 3. The experimental group had a significantly difference average systolic and diastolic blood pressure levels after the program than before the program, with a significance level of .001. 4. The experimental group had a significantly difference average systolic and diastolic blood pressure levels after the program than the control group (p < .05). Dietary promotion program based on DASH guidelines and self efficacy theory  can be used to promote food consumption behavior and reduce blood pressure among person with hypertension. However, it is important to note that this study used locally available food menus; therefore, adjustments may be necessary when implementing the program in different contexts to align with the dietary habits and lifestyle of patients with hypertension residing in other areas.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง  (Quasi-experimental Research: Two group pretest-posttest design) เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมการบริโภคอาหารตามแนวทางของ DASH ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และระดับความดันโลหิต มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริมด้านอาหารตามแนวทางของ DASH ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และระดับความดันโลหิต ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มีระดับความดันโลหิต 140-159 หรือ 90-99 มิลลิเมตรปรอท เพศหญิงอายุ 35-59 ปี มี BMI อยู่ในเกณฑ์ปกติ ซึ่งได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง ในปีงบประมาณ 2565  ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลในเขตอำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร และเป็นผู้ประกอบอาหารรับประทานเองอย่างน้อย 1 มื้อต่อวัน รวมจำนวน 60 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมส่งเสริมด้านอาหารตามแนวทางของ DASH ซึ่งผู้วิจัยประยุกต์จากทฤษฎีสมรรถนะแห่งตน (Bandura, 1997) จำนวน 30 คน  และกลุ่มควบคุมจำนวน 30 คน ได้รับการพยาบาลตามปกติ ระยะเวลาในการทำวิจัย 8 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยทั้ง 2 ส่วน ตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน ส่วนที่ 1 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหารตามแนวทางของ DASH  และแบบบันทึกความดันโลหิต มีค่าความตรงเชิงเนื้อหา เท่ากับ 0.85, 0.88 และ 1 ตามลำดับ และแบบสอบถามพฤติกรรมการบริโภคอาหาร นำมาวิเคราะห์ข้อมูลหาค่าความเที่ยง ทดสอบโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้เท่ากับ 0.84 ส่วนที่ 2 เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ โปรแกรมส่งเสริมด้านอาหารตามแนวทางของ DASH มีค่าความตรงเชิงเนื้อหาเท่ากับ 1 โดยโปรแกรมมีทั้งหมด 8 กิจกรรม (1) ให้ความรู้เรื่องอาหาร DASH และสาธิตย้อนกลับการเลือกอาหาร (2) ตั้งเป้าหมาย (3) บันทึกการบริโภคอาหารประจำวัน (4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์การรับประทานอาหาร และนำมาปรับใช้ (5) ชมวิดีโอบุคคลต้นแบบ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (6) การพูดให้กำลังใจในการปฏิบัติตนอย่างต่อเนื่อง (7) กระตุ้นเตือนการปฏิบัติพฤติกรรมทางไลน์ (8) เยี่ยมบ้าน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา  ทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยภายในสองกลุ่ม (paired sample t - test) และทดสอบความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยสองกลุ่ม (independent t - test)   ผลการศึกษา พบว่า 1. กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหารหลังทดลองแตกต่างจากก่อนเข้าร่วมโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 2. กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการบริโภคอาหาร หลังเข้าร่วมโปรแกรมแตกต่างจากกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 3. กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยระดับความดันโลหิตหลังเข้าร่วมโปรแกรมแตกต่างจากก่อนเข้าร่วมโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 4. กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยระดับความดันโลหิตหลังเข้าร่วมโปรแกรมแตกต่างจากกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โปรแกรมอาหารตามแนวทางของ DASH โดยใช้ทฤษฎีสมรรถนะแห่งตนสามารถนำมาใช้ในการส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และลดระดับความดันโลหิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง  โดยอาจมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบของอาหารให้เหมาะสมกับบริบทและวิถีชีวิตของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่อาศัยในพื้นที่อื่นth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectอาหารตามแนวทางของ DASHth
dc.subjectพฤติกรรมการบริโภคอาหารth
dc.subjectผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงth
dc.subjectDASH diet guidelineen
dc.subjectfood consumptionen
dc.subjectpatients with hypertensionen
dc.subject.classificationNursingen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleEffects of Dietary Promotion Program Guideline of the DASH on Food consumption behaviors and Blood Pressure in Patients with Hypertensionen
dc.titleผลของโปรแกรมส่งเสริมด้านอาหารตามแนวทางของ DASH ต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหาร และระดับความดันโลหิต ของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorYuwayong Juntarawijiten
dc.contributor.coadvisorยุวยงค์ จันทรวิจิตรth
dc.contributor.emailadvisoryuwayongj@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisoryuwayongj@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Nursing Science (M.N.S.)en
dc.description.degreenameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Nursingen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาพยาบาลศาสตร์th
Appears in Collections:คณะพยาบาลศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64062677.pdf2.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.