Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6284
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSirada Laosenaen
dc.contributorสิรดา เหลาเสนาth
dc.contributor.advisorPhattharamanat Pongrangsarnen
dc.contributor.advisorภัทรมนัส พงศ์รังสรรค์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-09-25T02:40:23Z-
dc.date.available2024-09-25T02:40:23Z-
dc.date.created2024en_US
dc.date.issued23/6/2024en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6284-
dc.description.abstractThe aim of this cross-sectional survey research was to study and compare the 21st Century Skills of professional nurses classified by age groups: generation X, generation Y and generation Z. The study sample was composed of 261 professional nurses of difference generations at Tertiary Hospitals under The Royal Thai Army Medical Department. The research instrument was the 21st century skills questionnaire. The content validity was checked by experts. The reliability of questionnaire was by Cronbach's alpha coefficient was 0.97. Data collection in November 2023. Data were analyzed by frequency, percentage, mean, standard deviation and one-way ANOVA. And Scheffe post-hoc comparisons. The research results found that 1) The sample group consisted of professional nurses of generation X, accounting for 9.60 %. Generation Y, accounting for 59.00 %, and Generation Z, accounting for 31.40 %. The average length of time working in this hospital for all 3 age groups of professional nurses was 9.89 years (S.D.=8.21). Classified by age group, it was found that the majority of Generation X professional nurses had an average working period of 27.76 years (S.D.=3.57). Most Generation Y professional nurses had an average working period of 11.05 years (S.D.=5.17) and most Generation Z professional nurses had an average working period of 2.24 years (S.D.=1.21). The skills that have received the highest training in the past 5 years are Collaboration, teamwork & leadership Skills (41.40%) and the least trained are skills in Cross-cultural understanding Skill (8.59%). 2) Professional nurse at tertiary hospital Under the Royal Thai Army Medical Department Overall 21st century skills are at a good level (X̄= 4.08, S.D. = 0.41). The highest mean value was Cross-cultural understanding Skill at a very good level (X̄= 4.46, S.D. = 0.52) and the lowest mean value was Writing Skills at a good level (X̄= 3.71, S.D. = 0.55) Followed by cooperation, teamwork and leadership skills at a good level (X̄=4.08, S.D.=0.41) and the aspect with the lowest average was writing skills at a good level (X̄=3.71, S.D. =0.55) Classified by age group, it was found that the 21st century skills of professional nurses of all 3 age groups were all at a good level. (4.02 ≤ X̄ ≤ 4.18,0.33 ≤ S.D ≤ 0.63) 3) Professional nurses of different age groups have significantly different skills in the 21st century at .05 (F = 4.03). The comparison found that the 21st century skills of Generation Y professional nurses are significantly different from Generation Z professional nurses at .05en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับของทักษะในศตวรรษที่ 21และเปรียบเทียบทักษะในศตวรรษที่ 21 ของพยาบาลวิชาชีพจำแนกตามรุ่นอายุ ได้แก่ เจเนอเรชั่นเอ็กซ์, เจเนอเรชั่นวาย และเจเนอเรชั่นซี กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพต่างรุ่นอายุ ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลตติยภูมิ สังกัดกรมแพทย์ทหารบก จำนวน 261 คน เครื่องมือที่ใช้ ในการวิจัย คือ แบบสอบถามทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งผ่านการตรวจหาความตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบค่าความเที่ยงด้วยสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ค่าเท่ากับ 0.97 ดำเนินการเก็บข้อมูลในเดือนพฤศจิกายน 2566 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว one-way ANOVA  และเปรียบเทียบรายคู่ด้วยเทคนิคเชฟเฟ่ ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพเจเนอเรชั่นเอ็กซ์ ร้อยละ 9.60 เจเนอเรชั่นวาย ร้อยละ 59.00 และเจเนอเรชั่นซี ร้อยละ 31.40 ส่วนใหญ่ปฏิบัติงานแผนกพยาบาลอายุรกรรม ร้อยละ 21.50 ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลแห่งนี้ของพยาบาลวิชาชีพทั้ง 3 รุ่นอายุ ระยะเวลาเฉลี่ยโดยรวม 9.89 ปี (S.D.=8.21) จำแนกตามรุ่นอายุ พบว่า พยาบาลวิชาชีพ เจเนอเรชั่นเอ็กซ์ ส่วนใหญ่ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานเฉลี่ย 27.76 ปี (S.D.=3.57) พยาบาลวิชาชีพ เจเนอเรชั่นวาย ส่วนใหญ่ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานเฉลี่ย 11.05 ปี (S.D.=5.17) และพยาบาลวิชาชีพ เจเนอเรชั่นซี ส่วนใหญ่ระยะเวลาที่ปฏิบัติงานเฉลี่ย 2.24 ปี (S.D.=1.21) โดยทักษะที่เคยได้รับ การอบรมในระยะ 5 ปีที่ผ่านมาสูงที่สุดคือทักษะด้านความร่วมมือการทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำคิด (41.40%) และน้อยที่สุด คือ ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์ (8.59%) 2) พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลตติยภูมิ สังกัดกรมแพทย์ทหารบก มีทักษะในศตวรรษ ที่ 21 โดยรวม อยู่ในระดับดี (X̄= 4.08, S.D. = 0.41) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ทักษะ ด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ อยู่ในระดับดีมาก (X̄=4.46, S.D.=0.52) รองลงมาคือ ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ อยู่ในระดับดี (X̄=4.08, S.D.=0.41) และด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด คือ ทักษะการเขียน อยู่ในระดับดี (X̄=3.71, S.D.=0.55) เมื่อจำแนกตามรุ่นอายุ พบว่า ทักษะในศตวรรษที่ 21 ของพยาบาลวิชาชีพของทั้ง 3 รุ่นอายุ อยู่ในระดับดีทั้งหมด (4.02 ≤ X̄ ≤ 4.18,0.33 ≤ S.D ≤ 0.63) 3)  พยาบาลวิชาชีพที่มีรุ่นอายุต่างกันมีทักษะในศตวรรษที่ 21 ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 (F = 4.03) เมื่อเปรียบเทียบรายคู่ 21 พบว่า ทักษะในศตวรรษที่ 21 ของพยาบาลวิชาชีพเจเนอเรชั่นวายแตกต่างกับพยาบาลวิชาชีพเจเนอเรชั่นซี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectทักษะในศตวรรษที่ 21th
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพth
dc.subjectรุ่นอายุth
dc.subject21st Century Skillsen
dc.subjectProfessional Nursesen
dc.subjectGenerationsen
dc.subject.classificationNursingen
dc.subject.classificationNursingen
dc.subject.classificationNursingen
dc.subject.classificationProfessional, scientific and technical activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.title21st Century Skills of Professional Nurses of Difference Generations at Tertiary Hospitals under The Royal Thai Army Medical Departmenten
dc.titleทักษะในศตวรรษที่ 21 ของพยาบาลวิชาชีพต่างรุ่นอายุ  โรงพยาบาลตติยภูมิ  สังกัดกรมแพทย์ทหารบกth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPhattharamanat Pongrangsarnen
dc.contributor.coadvisorภัทรมนัส พงศ์รังสรรค์th
dc.contributor.emailadvisorphattharamanatp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorphattharamanatp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Nursing Science (M.N.S.)en
dc.description.degreenameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:คณะพยาบาลศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64062141.pdf3.52 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.