Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6273
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Pulyada Mookdagarnthong | en |
dc.contributor | ปุญญาดา มุกดาก้านทอง | th |
dc.contributor.advisor | Thidarat Khamboon | en |
dc.contributor.advisor | ธิดารัตน์ คำบุญ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-09-25T02:40:18Z | - |
dc.date.available | 2024-09-25T02:40:18Z | - |
dc.date.created | 2024 | en_US |
dc.date.issued | 31/3/2024 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6273 | - |
dc.description.abstract | This study was quasi-experimental research design. The purpose of this research was to investigate the effects of symptom management program on abdominal distention in colorectal cancer patients after abdominal surgery. The participants were patients diagnosed with colorectal cancer and are receiving treatment by abdominal surgery in Uttaradit hospital. There were selected by purposive sampling and separated. 52 participants were divided into an experimental group and a control group, 26 for each group. The experimental group received the symptom management program, adapted from symptom management concept of Dodd et al. (2001) comprised of 3 steps: 1) symptom experience of abdominal distension 2) symptom management strategies for abdominal distension, and 3) symptom outcome of abdominal distension. Control group received routine nursing care. Data were collected between November 2022 and August 2023. The research collection tools were 1) personal information record and 2) abdominal distension form was used to test reliability (Cronbach's alpha coefficient 0.97). Data were analyzed using Descriptive statistics, Chi-square test, Fisher’s exact test, independent t-test, and Mann-Whitney U test. The results revealed that the patients receiving the symptom management program had a lower mean abdominal distention score than the control group receiving routine nursing care statistical significance (p | en |
dc.description.abstract | การวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการอาการต่ออาการท้องอืดในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้อง กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาเป็นผู้ป่วยที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก ที่ได้รับการรักษาโดยการผ่าตัดช่องท้อง เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลอุตรดิตถ์ เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงและการคัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 52 ราย แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 26 ราย และกลุ่มควบคุม 26 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการอาการ ซึ่งประยุกต์ใช้แนวคิดการจัดการอาการของดอดด์และคณะ (Dodd et al., 2001) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1) ประสบการณ์อาการท้องอืด 2) การใช้กลวิธีการจัดการอาการท้องอืด และ 3) การประเมินผลลัพธ์การจัดการอาการท้องอืด กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2565-เดือนสิงหาคม 2566 เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และ 2) แบบประเมินอาการท้องอืดตรวจสอบคุณภาพด้านความเที่ยงได้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ 0.97 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบไคสแคว์ สถิติฟิชเชอร์ สถิติทดสอบทีแบบสองกลุ่ม และสถิติแมน-วิทนีย์ยู ผลการวิจัย พบว่า ผู้ป่วยที่ได้รับโปรแกรมการจัดการอาการมีค่าเฉลี่ยคะแนนท้องอืดต่ำกว่าผู้ป่วยที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ดังนั้น ควรนำโปรแกรมการจัดการอาการมาใช้เพื่อช่วยบรรเทาอาการท้องอืดในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้อง | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | โปรแกรมการจัดการอาการ | th |
dc.subject | อาการท้องอืด | th |
dc.subject | มะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนัก | th |
dc.subject | การผ่าตัดช่องท้อง | th |
dc.subject | Symptom management program | en |
dc.subject | Abdominal distension | en |
dc.subject | Colorectal cancer | en |
dc.subject | Abdominal surgery | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Nursing and caring | en |
dc.title | The Effects of Symptom Management Program on Abdominal Distention in Colorectal Cancer Patients After Abdominal Surgery. | en |
dc.title | ผลของโปรแกรมการจัดการอาการต่ออาการท้องอืดในผู้ป่วยมะเร็งลำไส้ใหญ่และทวารหนักที่ได้รับการผ่าตัดช่องท้อง | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Thidarat Khamboon | en |
dc.contributor.coadvisor | ธิดารัตน์ คำบุญ | th |
dc.contributor.emailadvisor | thidaratk@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | thidaratk@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Nursing Science (M.N.S.) | en |
dc.description.degreename | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Nursing | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ | th |
Appears in Collections: | คณะพยาบาลศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62062372.pdf | 4.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.