Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6268
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Benjavan Bootyotee | en |
dc.contributor | เบญจวรรณ บุตรโยธี | th |
dc.contributor.advisor | Intira Pakanta | en |
dc.contributor.advisor | อินทิรา ปากันทะ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-09-25T02:40:16Z | - |
dc.date.available | 2024-09-25T02:40:16Z | - |
dc.date.created | 2024 | en_US |
dc.date.issued | 23/6/2024 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6268 | - |
dc.description.abstract | The objective of this quasi-experimental research was to study the effects of symptom management program on insomnia and pain in patients with chronic kidney disease stage 3. The sample consisted of 62 patients admitted in Naresuan University Hospital, Phitsanulok. Selected by purposive sampling technique. They were divided into the control group and the experimental group, 31 patients were experimental group who received symptom management program, which applied the symptom management concept of Dodd et al. (2001), consisting of three steps: 1) insomnia and pain experience 2) insomnia and pain management strategies and 3) insomnia and pain outcome. In contrast, the other 31 patients were control group who received routine nursing care. The data was collected from November 2023 to January 2024. The research collection tools were 1) the personal data recording and clinical data recording form 2) the insomnia experience questionnaire and 3) the pain experience questionnaire. Data were analyzed by descriptive statistics, chi-square test, Fisher’s exact test, paired t–test, and independent samples t–test The result of the study showed that after the experiment, the experimental group which received the symptom management program, had mean scores for insomnia and pain severity that were significantly lower than before receiving the program (p | en |
dc.description.abstract | การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการจัดการอาการนอน ไม่หลับและอาการปวดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 ที่เข้ารับบริการที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 62 ราย แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 31 ราย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการอาการนอนไม่หลับและอาการปวด ซึ่งประยุกต์ใช้แนวคิด การจัดการอาการของดอดด์ และคณะ (Dodd et al., 2001) ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ 1) ประสบการณ์อาการการนอนไม่หลับและอาการปวด 2) การใช้กลวิธีการจัดการอาการนอนไม่หลับและอาการปวด และ 3) การประเมินผลลัพธ์การจัดการอาการนอนไม่หลับและอาการปวด ส่วนกลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2566 ถึง มกราคม 2567 เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ 1) แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล และข้อมูลทางคลินิก 2) แบบสอบถามประสบการณ์อาการนอนไม่หลับ และ 3) แบบสอบถามประสบการณ์อาการปวด วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบไคสแคว์ สถิติทดสอบฟิชเชอร์ และสถิติทดสอบที ผลการศึกษาพบว่า หลังการทดลองกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการจัดการอาการมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรุนแรงของอาการนอนไม่หลับและอาการปวดต่ำกว่าก่อนการทดลองและต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ดังนั้น พยาบาลควรนำโปรแกรมการจัดการอาการนอนไม่หลับและอาการปวดไปใช้ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 เพื่อบรรเทาอาการนอนไม่หลับและอาการปวด | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | โปรเเกรมการจัดการอาการ | th |
dc.subject | โรคไตเรื้อรัง | th |
dc.subject | อาการนอนไม่หลับ | th |
dc.subject | อาการปวด | th |
dc.subject | Symptom management program | en |
dc.subject | Chronic kidney disease | en |
dc.subject | Insomnia symptom | en |
dc.subject | Pain symptom | en |
dc.subject.classification | Nursing | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Nursing and caring | en |
dc.title | The Effect of Symptoms Management Program on Insomnia and Pain in Patients with Chronic Kidney disease Stage 3 | en |
dc.title | ผลของโปรแกรมการจัดการอาการต่ออาการนอนไม่หลับและอาการปวด ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Intira Pakanta | en |
dc.contributor.coadvisor | อินทิรา ปากันทะ | th |
dc.contributor.emailadvisor | intira@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | intira@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Nursing Science (M.N.S.) | en |
dc.description.degreename | พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Nursing | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาพยาบาลศาสตร์ | th |
Appears in Collections: | คณะพยาบาลศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62061337.pdf | 3.94 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.