Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6265
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMarasri Meethupen
dc.contributorมารศรี มีธูปth
dc.contributor.advisorJirarat Ruetrakulen
dc.contributor.advisorจิรรัตน์ หรือตระกูลth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-09-25T02:40:15Z-
dc.date.available2024-09-25T02:40:15Z-
dc.date.created2024en_US
dc.date.issued31/3/2024en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6265-
dc.description.abstractThis qualitative research aimed to describe and explain managerial resources administration for infection prevention and control during the COVID-19 outbreak era in a center hospital. The informants included 12 head nurses who had experience managing wards with different tenures and had been assigned to work in the COVID-19 ward, or those who had managed COVID-19 wards when a patient was found. The research methodology involved conducting in-depth interviews. Data were analyzed by descriptive statistics and content analysis. The results of the study revealed that they were three key issues according to the 4 M’s principles in the managerial resources administration for infection prevention and control during the COVID-19 outbreaks era in a Center Hospital. Human resource administration consisted of three issues: 1) urgent need to enhance knowledge and skills in caring for COVID-19 patients, 2) adequate management of manpower to meet the demands of the emerging epidemic both within and outside the hospital, and 3) appropriate assignment of tasks based on nurses’ competencies aligned with the mission of caring for emerging diseases. Materials and budget administration included  ensuring sufficient and convenient provision of places and supplies for patients and personnel by utilizing un-plan budget funds. The management method consisted of organizing nursing practice in the ward that facilitates strict prevention and control of infection spread. In addition, executive support consisted of 1) allocating emergency budget for the preparation of facilities and equipment required for the care of COVID-19 patients; 2) knowledge to strengthen the confidence of personnel in the operation of the mission to care for patients with emerging diseases; and 3) risk allowance. Obstacles in administrative resource management included increased dependency on manpower and the fear of personnel contracting COVID-19. The findings of this research can serve as a guideline for nursing administrators in planning and enhancing the quality of administrative resource management for infection prevention and control in hospitals among the outbreaks of dangerous communicable diseases.en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อบรรยายและอธิบายการบริหารทรัพยากรทางการบริหารเพื่อการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในยุคการแพร่ระบาดของโควิด-19 โรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่ง ผู้ให้ข้อมูล คือหัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์การบริหารจัดการในหอผู้ป่วย ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยโควิด-19 หรือมีประสบการณ์ในการบริหารจัดการเมื่อพบผู้ป่วยโควิด-19 จำนวน 12 คน โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก  วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า การบริหารทรัพยากรทางการบริหารเพื่อการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในยุคการแพร่ระบาดของโควิด-19 ประกอบด้วย 3 ประเด็นหลักตามหลักการ 4 M’s คือ 1. ด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล มี 3 ประเด็นรอง คือ 1) การเสริมความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 อย่างเร่งด่วน 2) การบริหารอัตรากำลังแบบเกื้อกูลอย่างเพียงพอกับสถานการณ์แพร่ระบาดโรคอุบัติใหม่ทั้งภายในและภายนอกโรงพยาบาล และ 3) การมอบหมายงานตามสมรรถนะของพยาบาลที่เหมาะสมกับภารกิจดูแลโรคอุบัติใหม่ 2. ด้านการบริหารวัสดุอุปกรณ์และงบประมาณ โดยการจัดเตรียมสถานที่และวัสดุอุปกรณ์สำหรับผู้ป่วยและบุคลากรอย่างเพียงพอ สะดวกใช้ โดยใช้เงินงบประมาณนอกแผน และ 3. ด้านวิธีจัดการ โดยการจัดรูปแบบการปฏิบัติการพยาบาลในหอผู้ป่วยที่เอื้อต่อการป้องกัน และควบคุมการแพร่กระจายเชื้ออย่างเคร่งครัด การสนับสนุนจากผู้บริหาร ประกอบด้วย 1) งบประมาณในสถานการณ์ฉุกเฉินสำหรับ การจัดเตรียมสถานที่และอุปกรณ์สำหรับการดูแลผู้ป่วยโควิด-19 2) ความรู้เพื่อเสริมสร้างความมั่นใจของบุคลากรต่อการปฏิบัติงานในภารกิจดูแลผู้ป่วยโรคอุบัติใหม่ และ 3) ผลตอบแทน ค่าเสี่ยงภัย  อุปสรรคของการบริหาร ได้แก่ ด้านอัตรากำลังที่ต้องใช้มากกว่าปกติแบบเกื้อกูล และความกลัวติดเชื้อโควิด-19 ของบุคลากร ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถเป็นแนวทางสำหรับผู้บริหารทางการพยาบาลในการวางแผนและพัฒนาคุณภาพการบริหารทรัพยากรทางการบริหารด้านการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลท่ามกลางการระบาดของโรคติดต่ออันตรายth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectยุคการแพร่ระบาดของโควิด-19th
dc.subjectการบริหารทรัพยากรทางการบริหารเพื่อการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อth
dc.subjectโรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่งth
dc.subjectCOVID-19 Outbreaks Eraen
dc.subjectManagerial Resources Administration for Infection Prevention and Controlen
dc.subjectCenter Hospitalen
dc.subject.classificationNursingen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleManagerial Resources Administration for Infection Prevention and Control During COVID-19 Outbreaks Era in Center Hospitalen
dc.titleการบริหารทรัพยากรทางการบริหารเพื่อการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อในยุคการแพร่ระบาดของโควิด-19 โรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่งth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorJirarat Ruetrakulen
dc.contributor.coadvisorจิรรัตน์ หรือตระกูลth
dc.contributor.emailadvisorjiraratr@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorjiraratr@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Nursing Science (M.N.S.)en
dc.description.degreenameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:คณะพยาบาลศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62060866.pdf3.11 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.