Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6264
Title: The Relationships between Head Nurses' Business and Marketing Perspective and Nursing Administration Quality in Reginal and General Hospital, Health Region 2
ความสัมพันธ์ระหว่างมุมมองเชิงธุรกิจ และมุมมองการตลาดของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับคุณภาพการบริหารการพยาบาล โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไปเขตสุขภาพที่ 2
Authors: Thawee Kaewtai
ทวี แก้วต่าย
Phattharamanat Pongrangsarn
ภัทรมนัส พงศ์รังสรรค์
Naresuan University
Phattharamanat Pongrangsarn
ภัทรมนัส พงศ์รังสรรค์
phattharamanatp@nu.ac.th
phattharamanatp@nu.ac.th
Keywords: มุมมองเชิงธุรกิจ
มุมมองทางการตลาด
คุณภาพการบริหารการพยาบาล
Business perspective
Marketing perspective
The Quality of Nursing Administration
Issue Date:  31
Publisher: Naresuan University
Abstract: The purpose of this correlational survey research to examine:1) level of head nurses' business perspective 2) level of head nurses' marketing perspective 2, 3) level of quality of nursing administration of head nurses 4) relationship between head nurses' business perspectives and quality of nursing administration and 5) relationship between head nurses' marketing perspectives and quality of nursing administration. The 124 head nurses working at the reginal and general hospital, health region 2 who had experiences in the head nurse position at least one year. The questionnaires were used for data collection, consisting of four parts: 1) personal information, 2) business perspective, 3) marketing perspective, and 4) quality of nursing administration The content validity of the head nurse business perspective questionnaires. the head nurse marketing perspective questionnaires and quality of nursing administration questionnaires of the head nurse’s IOC ranged between 0.67-1 respectively. The reliability were. 0.97, 0.96, and 0.97, respectively. Data were analyzed by using percentage, mean, standard deviation and Pearson's correlation coefficient. The research findings were as follows: 1) the overall business perspective of the head nurses was at 5 highest level in terms of strategy, structural, style, skills and shared values. (x̄ = 4.40, S.D. = 1.09, x̄ = 4.39, S.D. = 0.66, x̄ = 4.37, S.D. = 0.43, x̄ = 4.32, S.D. = 0.88 as x̄ = 4.22, S.D. = 0.56) respectively and were at a high level in 2 aspects, the system and the personnel (x̄ = 4.15, S.D. = 0.63, x̄ = 3.99, S.D. = 0.47) respectively .2) the overall marketing perspective of the head nurses, it was at the (x̄ = 4.23, S.D. = 0.52) 3) the overall quality of nursing administration was at the high level (x̄ = 4.19, S.D. = 0.47) 4) the business perspectives has a positive relationship at a high level with the quality of nursing administration of the head nurses. with statistical significance (r=0.73, p
การวิจัยเชิงสำรวจแบบสหสัมพันธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับมุมมองเชิงธุรกิจของหัวหน้าหอผู้ป่วย 2) ระดับมุมมองการตลาดของหัวหน้าหอผู้ป่วย 3) ระดับคุณภาพการบริหาร การพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วย 4) ความสัมพันธ์ระหว่างมุมมองเชิงธุรกิจของหัวหน้าหอผู้ป่วย กับคุณภาพการบริหารการพยาบาล และ 5) ความสัมพันธ์ระหว่างมุมมองการตลาดของหัวหน้าหอผู้ป่วยกับคุณภาพการบริหารการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือหัวหน้าหอผู้ป่วยที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาล เขตสุขภาพที่ 2 สังกัดกระทรวงสาธารณสุข มีประสบการณ์ปฏิบัติงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 124 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามประกอบด้วยข้อมูล 4 ส่วนคือข้อมูลส่วนบุคคล มุมมองเชิงธุรกิจ มุมมองการตลาด และ คุณภาพการบริหารการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป เขตสุขภาพที่ 2 ตรวจสอบความตรงของเนื้อหา ของแบบสอบถามมุมมองเชิงธุรกิจของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามมุมมองการตลาดของหัวหน้าหอผู้ป่วย และแบบสอบถามคุณภาพการบริหารการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยมีค่า IOC อยู่ระหว่าง 0.67-1 และตรวจสอบความเที่ยงของแบบสอบถามมุมมองเชิงธุรกิจของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามมุมมองการตลาดของหัวหน้าหอผู้ป่วย และแบบสอบถามคุณภาพการบริหารการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยได้ค่าเท่ากับ .97, .96 และ .97 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันผลการวิจัยพบว่า 1) มุมมองเชิงธุรกิจของหัวหน้าหอผู้ป่วยจำแนกรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด 5 ด้านได้แก่ด้านกลยุทธ์, ด้านโครงสร้าง, ด้านรูปแบบ, ด้านทักษะ และด้านค่านิยมร่วม (x̄ = 4.40, S.D. = 1.09, x̄ = 4.39, S.D. = 0.66, x̄ = 4.37, S.D. = 0.43, x̄ = 4.32, S.D. = 0.88 และ x̄ = 4.22, S.D. = 0.56) ตามลำดับ และอยู่ในระดับมาก 2 ด้าน ได้แก่ด้านระบบและด้านบุคคล (x̄ = 4.15, S.D. = 0.63, x̄ = 3.99, S.D. = 0.47) ตามลำดับ 2) มุมมองการตลาดของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.23, S.D. = 0.52) 3) คุณภาพการบริหารการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยโดยรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.19, S.D. = 0.47) 4) มุมมองเชิงธุรกิจมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับคุณภาพการบริหารการพยาบาลของหัวหน้าหอผู้ป่วยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=0.73, p
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6264
Appears in Collections:คณะพยาบาลศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62060859.pdf4.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.