Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6262
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAnchalee Intasanen
dc.contributorอัญชลี อินทะเสนth
dc.contributor.advisorJirarat Ruetrakulen
dc.contributor.advisorจิรรัตน์ หรือตระกูลth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-09-25T02:40:14Z-
dc.date.available2024-09-25T02:40:14Z-
dc.date.created2024en_US
dc.date.issued23/6/2024en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6262-
dc.description.abstractThis research is a predictive research. The objective is to study factors that influence media literacy among Generation Z professional nurses, the regional hospital in Area Health  2, the population in this research Is a Generation Z professional nurse. Working in a regional hospital in Area Health 2, there were 174 professional nurses with birth years listed on their national ID cards from 1997 - 2012. The researcher selected samples from various agencies using Proportion Stratified Random Sampling of the number of professional nurses in each work group, totaling 10 work groups, in order to obtain proportional representation of each work group. Number of 185 people out of a total population of 290 people. Then proceed with random sampling. Using simple random sampling (Simple random sampling) by drawing lots without returning. Get the desired amount. Calculate the sample size based on the population proportion in each department. The tool used in this research is a questionnaire, which the researcher created himself from reviewing the literature and related documents. It consists of 4 questions. Part 1 is a questionnaire on personal information of the sample group. Parts 2-3 are questionnaires on factors within the individual. Social factors, environment that relates to media literacy and part 4 is a media literacy questionnaire According to the UNESCO Conceptual Framework (2013), content validity was checked by 3 experts. The reliability of the questionnaire was 0.92, 0.96, and 0.94, respectively. Data were analyzed using descriptive statistics including frequency, percentage, mean, standard deviation and stepwise multiple regression analysis. The results of the research found that the media literacy level of Generation Z professional nurses, the regional hospital in Area Health  2, the overall level of media literacy was high (x̄ = 4.28, SD = 0.48) and the factors within the individual included Selecting media exposure  critical thinking  and environmental factors It is a factor that influences media literacy among Generation Z professional nurses the regional hospital in Area Health  2, it was 58.8 percent, with statistical significance at the .05 level (R2 = .588, p < .05).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพยากรณ์ (Predictive research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรู้เท่าทันสื่อของพยาบาลวิชาชีพเจเนอเรชั่นแซด โรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่งในเขตสุขภาพที่ 2 ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ เป็นพยาบาลวิชาชีพเจเนอเรชั่นแซด ที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่งในเขตสุขภาพที่ 2 โดยเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีปีเกิดตามบัตรประจำตัวประชาชน ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2540 - 2555 จำนวน 174 คน ผู้วิจัยได้เลือกกลุ่มตัวอย่างจากหน่วยงานต่างๆด้วยวิธีการสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิตามสัดส่วน (Proportion Stratified Random Sampling) ของจำนวนพยาบาลวิชาชีพในแต่ละกลุ่มงาน จำนวน 9 กลุ่มงาน เพื่อให้ได้ตัวแทนเป็นสัดส่วนของแต่ละกลุ่มงาน จำนวน 185 คน จากจำนวนประชากร ทั้งหมด 290 คน จากนั้นดำเนินการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบง่าย (Simple random sampling) โดยการจับฉลากแบบไม่ใส่คืน ให้ได้จำนวนตามที่ต้องการ คำนวณขนาดตัวอย่างตามสัดส่วนประชากรในแต่ละแผนก เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม ซึ่งผู้วิจัยสร้างขึ้นเองจากการทบทวนวรรณกรรมและเอกสารที่เกี่ยวข้อง ประกอบด้วย คำถาม 4 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ส่วนที่ 2-3 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยภายในบุคคล   ปัจจัยทางสังคมสภาพแวดล้อม ที่เกี่ยวกับการรู้เท่าทันสื่อ และส่วนที่ 4 เป็นแบบสอบถามการรู้เท่าทันสื่อ ตามกรอบแนวคิดของ UNESCO (2013)  ผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิจำนวน 3 ท่าน มีความเชื่อมั่นของแบบสอบถามเท่ากับ 0.92 0.96 และ 0.94 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression  Analysis)     ผลการวิจัย พบว่า ระดับการรู้เท่าทันสื่อของพยาบาลวิชาชีพเจเนอเรชั่นแซด โรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่งในเขตสุขภาพที่ 2 ระดับการรู้เท่าทันสื่อโดยรวมอยู่ในระดับสูง (x̄ =4.28, SD =0.48) และ ปัจจัยภายในบุคคลได้แก่ การเลือกเปิดรับสื่อ การคิดวิจารณญาณ และปัจจัยสภาพแวดล้อม เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรู้เท่าทันสื่อของพยาบาลวิชาชีพเจเนอเรชั่นแซดโรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่ง ในเขตสุขภาพที่ 2 ได้ร้อยละ 58.8 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  (R2 = .588, p < .05)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการรู้เท่าทันสื่อth
dc.subjectเจนเนอเรชั่นแซดth
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพth
dc.subjectMedia literacyen
dc.subjectGeneration Zen
dc.subjectProfessional nursesen
dc.subject.classificationNursingen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleFactors influencing media literacy among Generation Z professional nurses, the regional hospital in Area Health 2en
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการรู้เท่าทันสื่อของพยาบาลวิชาชีพเจเนอเรชั่นแซด โรงพยาบาลศูนย์แห่งหนึ่ง ในเขตสุขภาพที่ 2th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorJirarat Ruetrakulen
dc.contributor.coadvisorจิรรัตน์ หรือตระกูลth
dc.contributor.emailadvisorjiraratr@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorjiraratr@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Nursing Science (M.N.S.)en
dc.description.degreenameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:คณะพยาบาลศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62060422.pdf1.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.