Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6255
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPhidsamai Sombuakhooen
dc.contributorพิศสมัย สมบัวคูth
dc.contributor.advisorPhattharamanat Pongrangsarnen
dc.contributor.advisorภัทรมนัส พงศ์รังสรรค์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-09-25T02:40:11Z-
dc.date.available2024-09-25T02:40:11Z-
dc.date.created2024en_US
dc.date.issued23/6/2024en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6255-
dc.description.abstractThis research is a cross-sectional survey study of the relationship between workload, work environment and quality of work life of professional nurses at a general hospital in Health District 3, working in the inpatient ward. A simple random sample of 132 nurses was selected. The research instrument was a questionnaire which passed the content validity check done by 3 experts, with a Content Validity Index (CVI) score of 0.86 and reliability tested by Cronbach’s alpha coefficient equal to 0.81. General data were analyzed using descriptive statistics. and analyze the relationship using the correlation coefficient. Spearman’s and Pearson’s correlation coefficient. The results of the research found that the workload of the nurses in the inpatient units is at a high level. Average nursing productivity is 173.05% (S.D. = 41.31). The work environment of the nurses is at a high level with an average score of 3.69 (S.D. = 0.53), but their quality of working life is high with an average score of 3.56 (S.D. = 0.43). This indicates that their workload has a low negative relationship with their quality of work life. For nursing productivity (rs = -0.20, p < 0.01) and the duration of overtime work (rs = -0.17, p < 0.01). As for the relationship between work environment and Quality of working life of professional nurses. There was a high level of positive correlation (r = 0.80, p < 0.01). The results of this research suggest that nursing administrators’ emphasis should be on policies that help improve the quality of working life of professional nurses, especially in terms of workload and arranging adequate manpower for the workload and the working environment. Life balance between work and personal time should be promoted and adequate and fair compensation paid. If acted upon, these suggestions help professional nurses to have a higher quality of working life.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาระงาน สภาพแวดล้อมการทำงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่ง เขตสุขภาพที่ 3 กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานหอผู้ป่วยใน เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่มอย่างง่าย จำนวน 132 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ผ่านตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่านได้ค่า (CVI) เท่ากับ 0.86 และทดสอบความเชื่อมั่นโดยสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาค เท่ากับ 0.81 วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ ของสเปียร์แมน และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า ภาระงาน ของพยาบาลวิชาชีพ หน่วยงานผู้ป่วยในอยู่ในระดับสูง ผลิตภาพทางการพยาบาลเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 173.05 (S.D. = 41.31) สภาพแวดล้อมการทำงานของพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.69 (S.D. = 0.53) คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ย 3.56 (S.D. = 0.43) ภาระงานมีความสัมพันธ์ทางลบระดับต่ำกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบในด้านผลิตภาพทางการพยาบาล (rs = - 0.20, p < 0.01) และด้านระยะเวลาของการปฏิบัติงานเกินเวลา (rs = - 0.17, p < 0.01) ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมการทำงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับสูง (r = 0.80, p < 0.01)   ข้อเสนอแนะจากผลการวิจัยในครั้งนี้ ผู้บริหารการพยาบาล ควรให้ความสำคัญกับนโยบายที่ช่วยยกระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โดยเฉพาะด้านภาระงาน การจัดอัตรากำลังอย่างเพียงพอ เหมาะสมกับภาระงาน และสภาพแวดล้อมในการทำงาน การส่งเสริมให้มีสมดุลของชีวิตระหว่างงานกับเวลาส่วนตัวและค่าตอบแทนที่เพียงพอและเป็นธรรม จะช่วยทำให้พยาบาลวิชาชีพมีคุณภาพชีวิตการทำงานสูงขึ้นth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectภาระงานth
dc.subjectสภาพแวดล้อมการทำงานth
dc.subjectคุณภาพชีวิตการทำงานth
dc.subjectพยาบาลวิชาชีพth
dc.subjectworkloaden
dc.subjectwork environmenten
dc.subjectquality of work lifeen
dc.subjectprofessional nursesen
dc.subject.classificationNursingen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleThe relationship between workload  work environment  and quality of work life of professional nurses in a general hospital, Health  Area 3en
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาระงาน  สภาพแวดล้อมการทำงาน กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไปแห่งหนึ่ง เขตสุขภาพที่ 3th
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPhattharamanat Pongrangsarnen
dc.contributor.coadvisorภัทรมนัส พงศ์รังสรรค์th
dc.contributor.emailadvisorphattharamanatp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorphattharamanatp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Nursing Science (M.N.S.)en
dc.description.degreenameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:คณะพยาบาลศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61061703.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.