Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6251
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Wenik Meetha | en |
dc.contributor | เวณิก มีทา | th |
dc.contributor.advisor | Jaruwan Daengbuppha | en |
dc.contributor.advisor | จารุวรรณ แดงบุบผา | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-09-23T06:31:54Z | - |
dc.date.available | 2024-09-23T06:31:54Z | - |
dc.date.created | 2024 | en_US |
dc.date.issued | 17/11/2024 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6251 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to study and analyse the communication of brand stories through online media concerning health spas and to analyse the perception of value through brand stories of users on online media. This research used a qualitative research design with thematic analysis, which is an appropriate method for analysing qualitative data on brand communication strategies until finding the essence (Theme). The research results found that every brand gave importance to presenting brand stories from various perspectives by focusing on ways to create awareness for specific target groups. The content of the communication focused on the format of spa services after the COVID-19 situation and the return of services. A variety of spa service packages were made available, along with continuous communication and high competition in providing services. Each brand highlights unique services. Every brand also encourages users to make decisions through advertising and online service packages that come with special price promotions. Moreover, there has been more emphasis placed on hygiene standards at spa facilities since the COVID-19 situation. Using the SHA logo and communicating standard award images that convey the quality of service has been considered to build confidence among service users. | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและวิเคราะห์การสื่อสารเรื่องราวของแบรนด์ผ่านสื่อออนไลน์ของสถานบริการสปาเพื่อสุขภาพ และเพื่อวิเคราะห์การรับรู้คุณค่าผ่านเรื่องราวแห่งแบรนด์ของผู้ใช้บริการบนสื่อออนไลน์ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแก่นสาระ (Thematic Analysis) ซึ่งเป็นวิธีที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพด้านกลยุทธ์การสื่อสารแบรนด์จนสามารถหาแก่นสาระ (Theme) ผลการวิจัยพบว่า ทุกแบรนด์ได้ให้ความสำคัญในการนำเสนอแบรนด์สตอรี่ในมุมมองที่หลากหลายด้าน มุ่งเน้นไปในแนวทางสร้างการรับรู้ ไปยังกลุ่มเป้าหมายที่เฉพาะเจาะจงมากยิ่งขึ้น โดยมีเนื้อหาของการสื่อสารที่มุ่งเน้นรูปแบบของการให้บริการสปาหลังสถานการณ์โควิด-19 ที่กลับมาให้บริการ โดยมีการนำเสนอแพ็กเกจของบริการสปาที่มีให้เลือกอย่างหลากหลาย มีการสื่อสารอย่างต่อเนื่อง และมีการแข่งขันด้านการให้บริการอย่างสูง โดยแต่ละแบรนด์ต่างชูจุดเด่นของบริการที่เป็นเอกลักษณ์ของแบรนด์ ทุกแบรนด์ยังมีการกระตุ้นให้ผู้ใช้บริการเกิดการตัดสินใจผ่านการโฆษณาแพ็กเกจบริการออนไลน์ ที่มาพร้อมด้วยโปรโมชั่นราคาพิเศษ อีกทั้งหลังจากสถานการณ์โควิด-19 มีการให้ความสำคัญกับมาตรฐานด้านสุขอนามัยในสถานบริการสปา โดยมีการใช้ตราสัญลักษณ์ SHA และใช้วิธีการสื่อสารโดยใช้ภาพรางวัลที่เป็นมาตรฐานที่สื่อถึงคุณภาพของการให้บริการถือเป็นการสร้างความเชื่อมั่นให้เกิดขึ้นแก่ผู้ใช้บริการ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การรับรู้คุณค่า | th |
dc.subject | เรื่องราวแห่งแบรนด์ | th |
dc.subject | สปาเพื่อสุขภาพ | th |
dc.subject | สื่อออนไลน์ | th |
dc.subject | ประเทศไทย | th |
dc.subject | Perception of value | en |
dc.subject | Brand stories | en |
dc.subject | Health spa | en |
dc.subject | Online media | en |
dc.subject | Thailand | en |
dc.subject.classification | Business | en |
dc.subject.classification | Business | en |
dc.subject.classification | Administrative and support service activities | en |
dc.subject.classification | Marketing and advertising | en |
dc.title | Perception of the value of health spa brand stories through online media | en |
dc.title | การรับรู้คุณค่าเรื่องราวแห่งเเบรนด์ของสปาเพื่อสุขภาพผ่านสื่อออนไลน์ | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Jaruwan Daengbuppha | en |
dc.contributor.coadvisor | จารุวรรณ แดงบุบผา | th |
dc.contributor.emailadvisor | jaruwand@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | jaruwand@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Arts (M.A.) | en |
dc.description.degreename | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Tourism | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการท่องเที่ยว | th |
Appears in Collections: | คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
64061984.pdf | 7.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.