Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6247
Title: | The Interpretation of Identity Art of Sukhothai Province for Hearing-Impaired Tourists รูปแบบการสื่อความหมายศิลปกรรมอัตลักษณ์ของ จังหวัดสุโขทัย สำหรับนักท่องเที่ยวผู้บกพร่องทางการได้ยิน |
Authors: | Wansiri Lekchaeng วรรณศิริ เล็กแจ้ง Jaruwan Daengbuppha จารุวรรณ แดงบุบผา Naresuan University Jaruwan Daengbuppha จารุวรรณ แดงบุบผา jaruwand@nu.ac.th jaruwand@nu.ac.th |
Keywords: | การสื่อความหมายโดยใช้ภาษามือ ผู้บกพร่องทางการได้ยิน ศิลปกรรมอัตลักษณ์จังหวัดสุโขทัย รูปแบบการสื่อความหมายงานศิลปกรรมอัตลักษณ์ Interpretation using sign language The hearing impaired Autonomous art The identity of Sukhothai province A form of interpretation of art and identity |
Issue Date: | 6 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | A research on the form of artistic interpretation and the identity of Sukhothai Province for hearing-impaired tourists with the objectives: 1.) for study the meaning of works of art, the identity of Sukhothai Province from the opinions of hearing-impaired tourists, 2.) for suggest the form of interpreting works of art. Sign language identity through information technology for tourists with hearing disabilities in this study used a semi-structured interview. (semistructu-interview) and review tools to collect content directly from 3 experts using the Item Objective Congruence Index (IOC) and a triangular data quality check. (Triangulation) using questionnaires on people with hearing disabilities and sign language specialists. In order to confirm the data to answer both objectives of the research correctly and reliably by the sample group of tourists with hearing impairment in the group of tourists with hearing impairment, 35 people aged 20-45 years in the issue of Interpretation of art and identity of Sukhothai For hearing impaired tourists By collecting data at 1.) Ban Thong Somsamai Si Satchanalai District 2.) Laksamonsilp votive house Mueang Kao District 3.) Kanecha Sangkhalok Mueang Kao District Sukhothai Province The results of the study revealed that the use of a form of conveying the meaning of artistic identity in all 3 tourist attractions of Sukhothai province by means of a sign language that consisted of a description of a specific term in a short word that could be used to describe Visiting tourists in the group of deaf people has a good perception and learning from their vision, as well as suggesting various forms of interpretation, technology can lead to It can be extended to organizations, whether government or private sectors as well. การวิจัยเรื่องรูปแบบการสื่อความหมายศิลปกรรมอัตลักษณ์ของ จังหวัดสุโขทัย สำหรับนักท่องเที่ยวผู้บกพร่องทางการได้ยินโดยมีวัตถุประสงค์1.) เพื่อศึกษารูปแบบการสื่อความหมายงานศิลปกรรมอัตลักษณ์ของจังหวัดสุโขทัยจากความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวผู้บกพร่องทางการได้ยิน 2.) เพื่อเสนอแนะรูปแบบการสื่อความหมายงานศิลปกรรมอัตลักษณ์ด้วยสัญลักษณ์ภาษามือผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับนักท่องเที่ยวผู้พิการทางการได้ยินในการศึกษานี้ใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง (semistructu-interview) และตรวจสอบเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยตรงเชิงเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 คน โดยใช้แบบ Item Objective Congruence Index (IOC) และมีการตรวจสอบคุณภาพของข้อมูลแบบสามเส้า (Triangulation) โดยใช้แบบสอบถามกับคนผู้พิการทางการได้ยินและผู้เชี่ยวชาญภาษามือ เพื่อยืนยันข้อมูลให้ตอบตามวัตถุประสงค์ ทั้ง 2 ข้อของการวิจัยได้อย่างถูกต้องและน่าเชื่อถือ โดย กลุ่มตัวอย่างกลุ่มประชากรนักท่องเที่ยวผู้บกพร่องทางการได้ยินในกลุ่มนักท่องเที่ยวผู้บกพร่องทางการได้ยิน จำนวน 35 คน ในช่วงอายุ 20-45 ปี ในประเด็นของ รูปแบบการสื่อความหมายศิลปกรรมอัตลักษณ์ของจังหวัดสุโขทัย สำหรับนักท่องเที่ยวผู้บกพร่องทางการได้ยิน โดยเก็บข้อมูลที่1.)บ้านทองสมสมัย อำเภอศรีสัชนาลัย 2.)บ้านพระพิมพ์ลักษมณศิลป์ อำเภอเมือเก่า 3.) กะเณชาสังคโลก อำเภอเมือเก่า จังหวัดสุโขทัย ผลการศึกษาพบว่าการใช้รูปแบบการสื่อความหมายงานศิลปกรรมอัตลักษณ์ในสถานที่ท่องเที่ยวของจังหวัดสุโขทัยทั้ง 3 สถานที่ด้วยภาพภาษามือที่ประกอบด้วยคำอธิบายที่เป็นคำศัพท์เฉพาะที่เป็นคำสั้นๆซึ่งสามารถอธิบายนำชมให้แก่นักท่องเที่ยวในกลุ่มคนหูหนวกได้มีการรับรู้เป็นอย่างดีและทำให้เกิดการเรียนรู้จากการมองเห็นของพวกเขาอีกทั้งการเสนอแนะรูปแบบการสื่อความหมายทางเทคโนโลยีต่างๆสามารถนำไปสู่การต่อยอดให้กับองค์กรไม่ว่าภาครัฐหรือภาพเอกชนต่างๆได้อีกด้วย |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6247 |
Appears in Collections: | คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
61062038.pdf | 2.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.