Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6242
Title: Development of smart Poultry farm management System using Geo-IoT
การพัฒนาระบบจัดการฟาร์มเลี้ยงไข่ไก่อัจฉริยะด้วยเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตของสรรพสิ่งและข้อมูลสารสนเทศ
Authors: Thanyananthapond Supachan
ธญนนทภร สุภาจันทร์
Sittichai Choosumrong
สิทธิชัย ชูสำโรง
Naresuan University
Sittichai Choosumrong
สิทธิชัย ชูสำโรง
sittichaic@nu.ac.th
sittichaic@nu.ac.th
Keywords: Sensor การวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงพื้นที่ MQTTool
Sensor Spatial analysis MQTTool
Issue Date:  23
Publisher: Naresuan University
Abstract: Thailand is an agricultural country farming the land more than 59.14 % of all areas of the land which allocate in four main groups namely Planting, Fishery, Integrated farming and Livestock. At present, technological systems used for improving and adapting in order to increase efficiency of production especially the livestock part such as poultry farms having a new technology in kind of sensor equipment so as to measure temperature, moistness, ammonia and bright light used for controlling environment within the poultry farms. The environment within the poultry farms is one of the most important for things for raising hens because it impacts to the hens and the eggs therefore it must always be controlled, checked and taken care of the environment within the poultry farms in order to provide the most suitable environment for raising hens. This research shall be made to design and develop the sensor equipment used for measuring the environment within the poultry farms which the researcher designing and developing fifteen low cost sensors. When the system of the sensors activates, it can measure the environment within the poultry farms and show real-time status on the smart phone moreover providing information to the main sensor equipment every one hour so as to keep the information in the database, then the information sent to the database shall be made in the form of statistics, tables, numbers and graphs. Furthermore, the information of temperature, moistness, ammonia and bright light shall be brought to analytical process along with collecting eggs having eleven kinds of problems in order to find the relationship of the information about the environment within the poultry farms by means of analysis of spatial data. The result of this research can be proved that the high temperature and moistness having an effect on laying eggs which can cause problems about the eggs. The most problems can always be found is pale eggs and deformed eggs. High ammonia cannot cause any effect on laying eggs because the most problems of collecting eggs can always be found in low ammonia which is pale eggs. The bright light which is normally used shall have an effect on laying eggs because the enough bright light is important for hens in particular of growth Moreover, the bright light shall stimulate to hens’ anterior pituitary in order to release the necessary hormone for laying eggs.
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรมมีการทำการเกษตรมากกว่าร้อยละ 59.14 ของประเทศ โดยแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มหลักๆ ได้แก่การปลูกพืช การประมง การเกษตรผสมผสาน และการปศุสัตว์ โดยปัจจุบันมีการนำเอาเทคโนโลยีเข้ามาปรับปรุงและประยุกต์ใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมากขึ้น โดยเฉพาะด้านการปศุสัตว์ เช่น ฟาร์มไก่ไข่ มีการนำเอาเทคโนโลยีในรูปแบบอุปกรณ์ Sensor เข้ามาช่วยในการตรวจวัด อุณหภูมิ ความชื้น แก๊สแอมโมเนีย และแสงสว่าง ที่ใช้ในการควบคุมสิ่งแวดล้อมภายในฟาร์มไก่ไข่ ซึ่งสภาพแวดล้อมภายในฟาร์มไก่ไข่เป็นสิ่งสำคัญในการเลี้ยงไก่ไข่ เพราะจะส่งผลต่อตัวแม่ไก่และไข่ ทำให้ต้องมีการดูแลและควบคุม และหมั่นตรวจสอบสภาพแวดล้อมภายในฟาร์มไก่ไข่ให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมกับการเลี้ยงไก่มากที่สุด งานวิจัยครั้งนี้ จึงได้มีการออกแบบและพัฒนาชุดอุปกรณ์เซ็นเซอร์ที่ใช้ตรวจวัดสภาพแวดล้อมภายในฟาร์มไก่ไข่ โดยผู้วิจัยได้ออกแบบและพัฒนาเซ็นเซอร์ต้นทุนต่ำทั้งหมด 15 จุด เมื่อเซนเซอร์เริ่มทำงานระบบจะมีการวัดค่าสภาพแวดล้อมภายในฟาร์ม และแสดงค่าแบบเรียลไทม์บน สมาร์ทโฟน รวมถึงส่งข้อมูลไปยังเครื่องแม่ข่ายทุก ๆ 1 ชั่วโมง เพื่อทำการเก็บค่าไว้ในฐานข้อมูล จากนั้นข้อมูลที่ถูกส่งไปยังฐานข้อมูลจะถูกเรียกมาแสดงในรูปแบบ สถิติ ตาราง ตัวเลข และกราฟ นอกจากนี้ยังมีการนำเอาข้อมูลอุณหภูมิ ความชื้น แก๊สแอมโมเนีย และแสงสว่าง เข้าสู่กระบวนการวิเคราะห์ร่วมกับการเก็บไข่ที่มีปัญหาทั้ง 11 ประเภท เพื่อหาความสัมพันธ์ของข้อมูลสภาพแวดล้อมภายในฟาร์มไก่ไข่ โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลในเชิงพื้นที่ ผลการวิจัยดังกล่าวพบว่าอุณภูมิและความชื้นที่สูงมีผลกับการออกไข่ของแม่ไก่ โดยไข่ที่มีปัญหาที่พบมากคือ ไข่ประเภท ไข่ซีด และไข่ผิดรูป และแก๊สแอมโมเนียที่สูงไม่มีผลกับการออกไข่ของแม่ไก่ เนื่องจากการเก็บไข่ที่มีปัญหาพบมากในแก๊สแอมโมเนียที่ต่ำ โดยไข่ที่มีปัญหาที่พบมากคือ ไข่ประเภท ไข่ซีด ส่วนแสงสว่างมีการใช้งานปกติและมีผลกับการออกไข่ของแม่ไก่ เนื่องจากไก่ได้รับแสงสว่างที่เพียงพอต่อการเจริญเติบโตและแสงสว่างยังมีผลต่อการกระตุ้นต่อมใต้สมองส่วนหน้าในไก่ไข่ให้หลั่งฮอร์โมนที่จำเป็นต่อการผลิตไข่
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6242
Appears in Collections:คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62063232.pdf5.26 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.