Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6224
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorParkpoom Phimphoen
dc.contributorภาคภูมิ พิมพ์โพธิ์th
dc.contributor.advisorAumporn Lincharoenen
dc.contributor.advisorเอื้อมพร หลินเจริญth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-08-08T05:13:20Z-
dc.date.available2024-08-08T05:13:20Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6224-
dc.description.abstractThis research aims to 1) to develop and verify the quality of a mathematics literacy test for grade 10 students, and 2) to create a norm for the mathematics literacy test for grade 10 students. The sample group consisted of 330 grade 10 students, randomly selected using a stratified random sampling method. The instrument used was a 24-item mathematical intelligence test for grade 10 students. The data was analyzed using mean, standard deviation, skewness, kurtosis, and percentile. The quality of the instrument was analyzed using content validity, item difficulty, item discrimination, and reliability. The norms were established using T-scores. The findings revealed that 1) The mathematics literacy test for grade 10 students can be divided into 3 subcomponents of mathematical reasoning: 1) Formulate, 2) Employ, and 3) Interpret and Evaluate. The IOC index of consistency ranged from 0.60 to 1.00. The item difficulty index ranged from 0.55 to 0.79. The item discrimination index ranged from 0.24 to 0.85. The reliability coefficient, using Cronbach's alpha, was 0.939. 2)The norms for the mathematical l test for grade 10 students are as follows: Very good: Raw score of 18-24(T65 and above), Good: Raw score of 15-17(T55 - T65), Fair: Raw score of 11-14(T45 - T55), Average: Raw score of 13 (T50) used as the main reference point for comparison according to the criteria set Below, average: Raw score of 8-10 (T35 - T45) and Weak: Raw score of 0-7 (T 35 and below)en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์ของการวิจัยคือ 1) เพื่อสร้างและหาคุณภาพของแบบวัดความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 2) เพื่อสร้างเกณฑ์ปกติ (Norms) ของแบบวัดความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 330 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ แบบวัดความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 24 ข้อ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย สัมประสิทธิ์การกระจาย ความเบ้ ความโด่ง เปอร์เซ็นไทล์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์หาคุณภาพเครื่องมือ ได้แก่ ความตรงเชิงเนื้อหา ค่าความยาก ค่าอำนาจจำแนก ความเชื่อมั่น และสถิติที่ใช้ในการสร้างเกณฑ์ปกติ ได้แก่ คะแนนมาตรฐานทีปกติ ผลการวิจัยพบว่า 1) แบบวัดความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 แบ่งองค์ประกอบการให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ออกเป็น 3 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ 1) การคิด/แปลงปัญหา2) การใช้คณิตศาสตร์ 3) การตีความและประเมิน โดยมี ค่าดัชนีความสอดคล้อง IOC อยู่ระหว่าง 0.60 ถึง 1.00  ค่าความยากง่ายอยู่ระหว่าง 0.55 - 0.79 แค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 0.24 – 0.85 ค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคทั้งฉบับ เท่ากับ 0.939 2) เกณฑ์ปกติ(Norms) ของแบบวัดความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ในระดับดีมาก มีคะแนนดิบตั้งแต่ 18 – 24 คะแนน มีช่วงคะแนนทีปกติตั้งแต่ T65 และสูงกว่า ความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ในระดับดี มีคะแนนดิบตั้งแต่ 15 – 17 คะแนน มีช่วงคะแนนทีปกติตั้งแต่ T55-T65 ความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ในระดับพอใช้ มีคะแนนดิบตั้งแต่ 11 – 14 คะแนน มีช่วงคะแนนทีปกติตั้งแต่ T45-T55 ความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ในระดับปานกลางพอดี มีคะแนนดิบ 13 คะแนน มีคะแนนทีปกติ T50 ซึ่งใช้เป็นจุดหลักของการเปรียบเทียบตามเกณฑ์ที่กำหนด ความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ในระดับยังไม่พอใช้ มีคะแนนดิบตั้งแต่ 8 – 10 คะแนน มีช่วงคะแนนทีปกติตั้งแต่ ตั้งแต่ T35-T45 ความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ในระดับอ่อน มีคะแนนดิบตั้งแต่ 0 – 7 คะแนน มีช่วงคะแนนทีปกติตั้งแต่ T35 และต่ำกว่าth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectแบบวัดth
dc.subjectความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์th
dc.subjectเกณฑ์ปกติth
dc.subjectTesten
dc.subjectMathematical literacyen
dc.subjectNormsen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนาแบบวัดความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4th
dc.titleA Development of Mathematical Literacy Test for Grade 10 Studentsen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorAumporn Lincharoenen
dc.contributor.coadvisorเอื้อมพร หลินเจริญth
dc.contributor.emailadvisoraumpornli@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisoraumpornli@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ParkpoomPhimpho.pdf2.54 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.