Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6209
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Vaewphun Siriphun | en |
dc.contributor | แววพันธุ์ ศิริพันธุ์ | th |
dc.contributor.advisor | Skonchai Chanunan | en |
dc.contributor.advisor | สกนธ์ชัย ชะนูนันท์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-07-30T06:36:42Z | - |
dc.date.available | 2024-07-30T06:36:42Z | - |
dc.date.created | 2566 | en_US |
dc.date.issued | 2566 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6209 | - |
dc.description.abstract | This classroom action research was to study of using Science, technology, society and environment with reflective thinking learning Approach for reflective thinking and environmental literacy in water source topics the control sample consisted of seventeen 5th grade students there were 7 steps of the approach including 1) identifying the problem 2) stimulating students to find answers. 3) searching the information 4) reflective knowledge from researching. 5) discussion and reflection of ideas 6) analysis and evaluating 7) conclude and applying knowledge to practice. Research instruments comprised of 1) lesson plans 2) a reflective learning management results 3) environmental literacy of knowledge including activity sheets and Evaluation form worksheets for students 4) evaluation form environmental literacy of attitudes and behaviors 5) evaluation from reflective thinking skills. Data were analyzed using content analysis and verified trustworthiness by method and resource triangulation. The results showed that a level of reflective thinking a very good level, accounting for 35.30 percent. Environmental literacy of Knowledge, Attitudes and Behaviors found that the students had a high level, accounting for 11.76, 47.05 and 52.94 percent, respectively. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียนนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม(STSE) ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสะท้อนคิด และศึกษาการสะท้อนคิดและความฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อม เรื่อง แหล่งน้ำ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 17 คน มีการจัดการเรียนรู้ 7 ขั้นตอน ได้แก่ 1)ระบุปัญหาประเด็นทางสังคมและสิ่งแวดล้อม 2)การกระตุ้นให้นักเรียนหาคำตอบ 3)ระดมความคิดและสืบค้น 4)สะท้อนความรู้จากการค้นคว้า 5)แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อสะท้อนความคิด 6)วิเคราะห์และประเมินค่า และ7)สรุปและนำไปใช้ เครื่องมือวิจัย ได้แก่ 1)แผนการจัดการเรียนรู้ 2) แบบบันทึกสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ 3)เครื่องมือวัดความฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อมด้านความรู้ด้วยใบกิจกรรมและแบบประเมินชิ้นงาน 4)แบบประเมินความฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อมด้านเจตคติและด้านพฤติกรรม และ5)แบบประเมินการสะท้อนคิด โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสะท้อนการจัดการเรียนรู้ด้วยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลด้วยการตรวจสอบแบบสามเส้า ผลการสะท้อนคิดและความฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อม พบว่า นักเรียนมีระดับการสะท้อนคิดระดับที่ 4 คิดเป็นร้อยละ 35.30 ความฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อมด้านความรู้ ด้านเจตคติ และด้านพฤติกรรมพบในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 11.76 , 47.05 และ 52.94 ตามลำดับ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ความฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อม; การสะท้อนคิด; การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม(STSE) ร่วมกับการจัดการเรียนรู้แบบสะท้อนคิด | th |
dc.subject | Environmental literacy; Reflective thinking; Science Technology Society and Environment with Reflective thinking Learning | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคมและสิ่งแวดล้อม(STSE) ร่วมกับการสะท้อนคิด เพื่อส่งเสริมการสะท้อนคิดและความฉลาดรู้ด้านสิ่งแวดล้อม เรื่อง แหล่งน้ำ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 | th |
dc.title | Science, technology, society and environment with reflective thinking Approach for reflective thinking and environmental literacy in water source for grade 5 students | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Skonchai Chanunan | en |
dc.contributor.coadvisor | สกนธ์ชัย ชะนูนันท์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | skonchaic@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | skonchaic@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
VaewphunSiriphun.pdf | 3.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.