Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6200
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Kunnika Tanukaew | en |
dc.contributor | กรรณิการ์ ธนูแก้ว | th |
dc.contributor.advisor | Chakkrid Klin-eam | en |
dc.contributor.advisor | จักรกฤษ กลิ่นเอี่ยม | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-07-30T06:36:38Z | - |
dc.date.available | 2024-07-30T06:36:38Z | - |
dc.date.created | 2566 | en_US |
dc.date.issued | 2566 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6200 | - |
dc.description.abstract | The research aims to 1) Study the guideline for learning activities using Activity – Based Learning to enhancing Systems Thinking ability about the topic in Parallelograms and 2) Study the effect of learning activities using Activity – Based Learning to enhancing Systems Thinking Ability about Parallelograms for 5 students in grade 5 in a certain school in the Province of Phrae. Classroom action research was applied by the researcher and the following tools used were activity sheets, reflection forms and systems thinking test. The data were analyzed by content analysis and analytic scoring.The following findings were as: 1. Guidelines for learning activities using Activity – Based Learning to enhance Systems Thinking ability should be emphasized that Step 1: reviewing experiences and stimulating learning, use questions to review previous knowledge. Provide media or activities to attract attention. Step 2: Activity should be activities related to real-life problem situations. And used questions to enhance systems thinking ability. Step 3: Reflection and step 4: Evaluation, used questions to stimulate learning to lead to joint discussion. Step 5: Application. should give advice when students have trouble finding an answer. 2. Most students have a high level of Systems Tthinking ability. On which Activity - Based Learning helps develop Systems Thinking ability. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้และเพื่อศึกษาผลการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดเชิงระบบ เรื่อง รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 จำนวน 5 คน ของโรงเรียนแห่งหนึ่งในจังหวัดแพร่ ผู้วิจัยใช้รูปแบบวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ ใบกิจกรรม แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ และแบบวัดการคิดเชิงระบบ ข้อมูลที่ได้นำมาวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาและวิเคราะห์แบบแยกประเด็น ผลการวิจัยพบว่า 1. แนวทางการจัดการเรียนรู้ เรื่อง รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน ในแต่ละขั้นตอนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน มีดังนี้ ขั้นที่ 1 ขั้นทบทวนประสบการณ์และกระตุ้นการเรียนรู้ ควรใช้คำถามเพื่อทบทวนความรู้เดิม จัดหาสื่อหรือกิจกรรมเพื่อดึงดูดความสนใจ ขั้นที่ 2 ขั้นกิจกรรม ควรเป็นกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ปัญหาในชีวิตจริง มีการใช้คำถามเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดเชิงระบบ ขั้นที่ 3 ขั้นสะท้อนความคิดและขั้นที่ 4 ขั้นประเมินผล ควรใช้คำถามกระตุ้นการเรียนรู้เพื่อนำไปสู่การอภิปรายร่วมกัน ขั้นที่ 5 ขั้นประยุกต์ใช้ ควรให้คำแนะนำเมื่อเกิดปัญหาในการหาคำตอบ 2. นักเรียนส่วนใหญ่มีความสามารถในการคิดเชิงระบบอยู่ในระดับดีมาก กล่าวได้ว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานช่วยพัฒนาความสามารถในการคิดเชิงระบบได้ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การคิดเชิงระบบ | th |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน | th |
dc.subject | รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน | th |
dc.subject | Systems Thinking | en |
dc.subject | Activity Based Learning | en |
dc.subject | Parallelogram | en |
dc.subject.classification | Mathematics | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | การพัฒนาการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์โดยใช้กิจกรรมเป็นฐานเพื่อส่งเสริมความสามารถในการคิดเชิงระบบ เรื่อง รูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 | th |
dc.title | THE DEVELOPMENT OF MATHEMATICS LEARNING ACTIVITIES USING ACTIVITY-BASED LEARNING TO ENHANCE SYSTEMS THINKING ABILITY ON THE TOPIC OF PARALLELOGRAM FOR STUDENTS IN GRADE 5 | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Chakkrid Klin-eam | en |
dc.contributor.coadvisor | จักรกฤษ กลิ่นเอี่ยม | th |
dc.contributor.emailadvisor | chakkridk@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | chakkridk@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
KunnikaTanukaew.pdf | 2.16 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.