Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6199
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Chanatda Khampeera | en |
dc.contributor | ชณัฐฎา คำพีระ | th |
dc.contributor.advisor | Nanthima Nakhaphong Asvaraksha | en |
dc.contributor.advisor | นันทิมา นาคาพงศ์ อัศวรักษ์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-07-30T06:36:38Z | - |
dc.date.available | 2024-07-30T06:36:38Z | - |
dc.date.created | 2567 | en_US |
dc.date.issued | 2567 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6199 | - |
dc.description.abstract | The objectives of this research were to study 1) the level of organizational culture factors, 2) the level of strategic management processes, 3) the relationship between organizational culture factors and strategic management processes, and 4) the predictive variables of organizational culture factors affecting the strategic management processes. The sample consisted of school administrators and teachers from small-sized schools under Phetchabun Primary Educational Service Area Office 2, a total of 191 people. The research instrument was a questionnaire. The statistical analysis was mean, standard deviation, Pearson’s correlation coefficient, and enter multiple regression analysis. The research findings were as follows: 1) The organizational culture factors were overall at a high level. When sorting the highest to the lowest; clan, bureaucratic, constructive, and achievement culture. 2) The strategic management processes were overall at the highest level, when sorting the highest to the lowest; strategy implementation, strategy control and evaluation, strategy formulation, environmental analysis, and set organization direction. 3)The relationship between organizational culture factors and strategic management processes was positive with a significant correlation of statistic at the .01 level. 4)The enter multiple regression analysis revealed that all of organizational culture factors significantly affect strategic management processes at the .05 level. When sorting the highest to the lowest; bureaucratic (X1) was 0.345, achievement (X2) was 0.191, clan (X3) was 0.113 and constructive (X4) was 0.680. The predictive power (R2) was 0.680. The standard error of the estimate (SEest) was 0.25841. The regression equations can be formulated accordingly; Predictive equation in raw score = 0.966 + 0.113X*3 + 0.151X*4 + 0.191X*2 + 0.345X*1 Predictive equation as standardized score = 0.150ZX3* + 0.187ZX4* + 0.218ZX2* + 0.391ZX1* | en |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับของปัจจัยวัฒนธรรมองค์การ 2) ระดับของกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ 3) ความสัมพันธ์ของปัจจัยวัฒนธรรมองค์การกับกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ และ 4) ตัวแปรพยากรณ์ของปัจจัยวัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษาและครู จำนวน 191 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบปกติ ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับของปัจจัยวัฒนธรรมองค์การ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัยและเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ ปัจจัยวัฒนธรรมแบบเครือญาติ แบบราชการ แบบสร้างสรรค์ และ แบบมุ่งผลสำเร็จ 2) ระดับของกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านและเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ การนำกลยุทธ์ไปสู่การปฏิบัติ การควบคุมและประเมินกลยุทธ์ การกำหนดกลยุทธ์ การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม และ การกำหนดทิศทางของสถานศึกษา 3) ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยวัฒนธรรมองค์การกับกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์มีความสัมพันธ์กันทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ทุกค่า 4) การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบปกติ พบว่า ปัจจัยวัฒนธรรมองค์การทั้ง 4 ปัจจัยสามารถพยากรณ์กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยเรียงลำดับค่าสัมประสิทธิ์การถดถอยของปัจจัยวัฒนธรรมต่าง ๆ จากมากไปน้อย ดังนี้ แบบราชการ (X1) เท่ากับ 0.345 แบบมุ่งผลสำเร็จ (X2) เท่ากับ 0.191 แบบสร้างสรรค์ (X4) เท่ากับ 0.151 และ แบบเครือญาติ (X3) เท่ากับ 0.113 มีค่าอำนาจการพยากรณ์ (R2) เท่ากับ 0.680 ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานการพยากรณ์ (SEest) เท่ากับ 0. 25841 สามารถเขียนสมการได้ ดังนี้ สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนดิบ = 0.966 + 0.113X*3 + 0.151X*4 + 0.191X*2 + 0.345X*1 สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน = 0.150ZX3* + 0.187ZX4* + 0.218ZX2* + 0.391ZX1* | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ปัจจัยวัฒนธรรมองค์การ | th |
dc.subject | กระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ | th |
dc.subject | Organizational Culture Factors | en |
dc.subject | The Strategic Management Process | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.title | ปัจจัยวัฒนธรรมองค์การที่ส่งผลต่อกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ของสถานศึกษาขนาดเล็ก สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 | th |
dc.title | ORGANIZATIONAL CULTURE FACTORS AFFECTING THE STRATEGIC MANAGEMENT PROCESS OF SMALL-SIZED SCHOOLS UNDER PHETCHABUN PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2 | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Nanthima Nakhaphong Asvaraksha | en |
dc.contributor.coadvisor | นันทิมา นาคาพงศ์ อัศวรักษ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | nanthiman@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | nanthiman@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ChanatdaKhampeera.pdf | 2.35 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.