Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6173
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Thanatcha Lekthang | en |
dc.contributor | ธนัชชา เหล็กทั่ง | th |
dc.contributor.advisor | Namthip Ongrardwanich | en |
dc.contributor.advisor | น้ำทิพย์ องอาจวาณิชย์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-07-10T02:01:50Z | - |
dc.date.available | 2024-07-10T02:01:50Z | - |
dc.date.created | 2566 | en_US |
dc.date.issued | 2566 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6173 | - |
dc.description.abstract | The purposes of this research aim to compare: 1) difficulty and discriminant index, 2) construct validity, 3) reliability coefficient, and 4) test information of tests derived from the partial knowledge scoring method when tests have different confidence levels. The sample was obtained through multi-stage sampling from high school students in grades 10-12 under the Secondary Educational Service Area Office Phitsanulok Uttaradit, totaling 39 schools in Phitsanulok province. The sample consisted of 750 students, divided into 2 groups of 375 each. Research instruments were 2 versions of multiple-choice tests on scientific competency, each with 20 items. The first version had 2 confidence levels: confident and not confident. The second version had 4 confidence levels: very confident, confident, not confident and guessing. The results showed that tests derived from the partial knowledge scoring method with 2 confidence levels were of higher quality than those with 4 confidence levels. The considerations are as follows: 1) examining the basic assumptions of the item response theory indicated that tests with 4 confidence levels did not meet the eigenvalue ratio criterion, while tests with 2 confidence levels meet both criteria. 2) the average difficulty and discrimination index of tests with 2 confidence levels were appropriate and could better discriminate examinees than those with 4 confidence levels. 3) both versions of the tests exhibited construct validity, but when considering the factors loading of each test, the tests with 4 confidence levels had more items failing the factor loading criterion than the tests with 2 confidence levels. 4) the reliability of tests with 2 confidence levels was higher than that of tests with 4 confidence levels and 5) the test information of tests with 2 confidence levels reflected the true ability of examinees more accurately than tests with 4 confidence levels. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ 1) ความยากและอำนาจจำแนก 2) ความตรงเชิงโครงสร้าง 3) ความเที่ยง และ 4) ฟังก์ชันสารสนเทศของแบบสอบที่ได้จากวิธีการตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วน เมื่อข้อสอบมีระดับความมั่นใจที่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จากนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ จำนวน 39 โรงเรียนในเขตจังหวัดพิษณุโลก ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 750 คน แบ่งเป็นกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่ม กลุ่มละ 375 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบเลือกตอบด้านสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ จำนวน 2 ฉบับ ฉบับละ 20 ข้อ โดยฉบับที่ 1 มีระดับความมั่นใจ 2 ระดับ ได้แก่ มั่นใจ และ ไม่มั่นใจ และฉบับที่ 2 มีระดับความมั่นใจ 4 ระดับ ได้แก่ มั่นใจมาก มั่นใจ ไม่มั่นใจ และ เดา ผลการวิจัยพบว่า แบบสอบที่ได้จากวิธีการตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วน เมื่อข้อสอบมีระดับความมั่นใจ 2 ระดับ มีคุณภาพดีกว่าแบบสอบที่ได้จากวิธีการตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วน เมื่อข้อสอบมีระดับความมั่นใจ 4 ระดับ โดยพิจารณาองค์ประกอบดังนี้ 1) การตรวจสอบข้อตกลงเบื้องต้นของทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ พบว่า แบบสอบที่ได้จากวิธีการตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วน เมื่อข้อสอบมีระดับความมั่นใจ 4 ระดับ ไม่ผ่านเกณฑ์ด้านอัตราส่วนของค่าไอเกน แต่แบบสอบที่ได้จากวิธีการตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วน เมื่อข้อสอบมีระดับความมั่นใจ 2 ระดับ ผ่านเกณฑ์การพิจารณาทั้ง 2 เกณฑ์ 2) ความยากและอำนาจจำแนกเฉลี่ยของแบบสอบที่ได้จากวิธีการตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วน เมื่อข้อสอบมีระดับความมั่นใจ 2 ระดับ มีค่าความยากเฉลี่ยที่เหมาะสม รวมทั้งยังสามารถจำแนกผู้สอบได้ดีกว่าแบบสอบที่ได้จากวิธีการตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วน เมื่อข้อสอบมีระดับความมั่นใจ 4 ระดับ 3) ความตรงเชิงโครงสร้างของแบบสอบทั้ง 2 ฉบับ มีความตรงเชิงโครงสร้าง แต่เมื่อพิจารณาน้ำหนักองค์ประกอบของแบบสอบแต่ละฉบับ พบว่า แบบสอบที่ได้จากวิธีการตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วน เมื่อข้อสอบมีระดับความมั่นใจ 4 ระดับ มีข้อสอบที่ไม่ผ่านเกณฑ์น้ำหนักองค์ประกอบมากกว่าแบบสอบที่ได้จากวิธีการตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วน เมื่อข้อสอบมีระดับความมั่นใจ 2 ระดับ 4) ความเที่ยงของแบบสอบที่ได้จากวิธีการตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วน เมื่อข้อสอบมีระดับความมั่นใจ 2 ระดับ มีค่ามากกว่าแบบสอบที่ได้จากวิธีการตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วน เมื่อข้อสอบมีระดับความมั่นใจ 4 ระดับ และ 5) ฟังก์ชันสารสนเทศของแบบสอบที่ได้จากวิธีการตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วน เมื่อข้อสอบมีระดับความมั่นใจ 2 ระดับ สามารถสะท้อนความสามารถที่แท้จริงของผู้สอบได้มากกว่าแบบสอบที่ได้จากวิธีการตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วน เมื่อข้อสอบมีระดับความมั่นใจ 4 ระดับ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ระดับความมั่นใจ | th |
dc.subject | ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ | th |
dc.subject | โมเดลการตอบสนองข้อสอบแบบตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วนแบบทั่วไป | th |
dc.subject | confidence level | en |
dc.subject | item response theory | en |
dc.subject | generalized partial credit model | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | การเปรียบเทียบคุณภาพของแบบสอบเลือกตอบสองระดับด้านสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ที่มีระดับความมั่นใจที่แตกต่างกัน โดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบแบบตรวจให้คะแนนความรู้บางส่วนแบบทั่วไป | th |
dc.title | Comparison of the Quality of Two-Level Multiple-Choice Tests in Scientific Competency with Different Confidence Levels, Applying the Generalized Partial Credit Model from Item Response Theory | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Namthip Ongrardwanich | en |
dc.contributor.coadvisor | น้ำทิพย์ องอาจวาณิชย์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | namthipo@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | namthipo@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ThanatchaLekthang.pdf | 2.6 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.