Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6172
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThanapat Toahomen
dc.contributorธนพัต เต่าหอมth
dc.contributor.advisorJakkrit Jantakoonen
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ จันทะคุณth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-07-10T02:01:50Z-
dc.date.available2024-07-10T02:01:50Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6172-
dc.description.abstractThe objectives of this research were  1) to create and verify the training curriculum for coping with drought to enhance knowledge and awareness in climate change adaptation for high school students, 2) to implement the curriculum for coping with drought to enhance knowledge and awareness in climate change adaptation for high school students, and 3) to study students’ opinions towards the curriculum for coping with drought to enhance knowledge and awareness in climate change adaptation for high school students. The research was conducted by research and development methodology. The samples consisted of 38 students at Phophithammasuwat School, The secondary educational service area office Phichit, semester 2, academic year 2023 which were obtained by cluster sampling. This research used one group pretest-posttest design. The research instruments consisted of 1) the training curriculum for coping with drought to enhance knowledge and awareness in climate change adaptation for high school students, 2) knowledge in climate change adaptation test, 3) awareness in climate change adaptation questionnaire, and 4) students’ opinions questionnaire. Data were analyzed by using mean, standard deviation, percentage, and independent t-test.            The research results revealed that:          The training curriculum for coping with drought to enhance knowledge and awareness in climate change adaptation for high school students comprises of 7 elements, including 1) rational criterion, 2) purposes, 3) contents, 4) structure, 5) learning activities guidlines, 6) materials and resourses guidelines, and 7) assessments guidelines. the results of appropriateness of the curriculum were at a highest level (= 4.83 , S.D.= 0.02), and the results of pilot study were operational feasibility The students had the knowledge in climate change adaptation after participating in the training curriculum for coping with drought to enhance knowledge and awareness in climate change adaptation for high school students higher than before at the statistical significance level of 0.5, and had the awareness in climate change adaptation was at the high level ( = 3.98 , S.D. = 0.78 ) The students’ opinions towards the training curriculum for coping with drought to enhance knowledge and awareness in climate change adaptation for high school students was at the highest level (= 4.88, S.D.= 0.13)en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) สร้างและหาคุณภาพหลักสูตรฝึกอบรมรับมือภัยแล้งเพื่อเสริมสร้างความรู้และความตระหนักในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) ทดลองใช้หลักสูตรฝึกอบรมรับมือภัยแล้งเพื่อเสริมสร้างความรู้และความตระหนักในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และ 3) ศึกษาความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีต่อการเข้าร่วมหลักสูตรฝึกอบรมรับมือภัยแล้งเพื่อเสริมสร้างความรู้และความตระหนักในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ดำเนินการวิจัยด้วยกระบวนการวิจัยและพัฒนา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนโพธิธรรมสุวัฒน์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิจิตร ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 จำนวน  38 คน ได้มาจากการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม ใช้แบบแผนการวิจัยกลุ่มเดียวทดสอบก่อนและหลังการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ หลักสูตรฝึกอบรมรับมือภัยแล้ง สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย แบบทดสอบวัดความรู้ในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แบบสอบถามความตระหนักในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และแบบสอบถามความคิดเห็น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าทีแบบไม่เป็นอิสระ                 ผลการวิจัยพบว่า                 หลักสูตรฝึกอบรมรับมือภัยแล้งเพื่อเสริมสร้างความรู้และความตระหนักในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย 7องค์ประกอบ ได้แก่ 1) หลักการและเหตุผล 2) จุดมุ่งหมายของหลักสูตร 3) เนื้อหาของหลักสูตร 4) โครงสร้างหลักสูตรฝึกอบรม 5) แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 6) แนวทางการใช้สื่อและแหล่งการเรียนรู้ในการฝึกอบรม และ 7) แนวทางการการวัดและประเมินผล ผลการประเมินความเหมาะสมหลักสูตร พบว่าอยู่ในระดับมากที่สุด  ( = 4.83 , S.D.= 0.02 ) ผลการศึกษานำร่อง พบว่าหลักสูตรมีความเป็นไปได้ในการนำไปปฏิบัติ                 นักเรียนมีความรู้ในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศหลังเข้าร่วมหลักสูตรสูงกว่าก่อนเข้าร่วมหลักสูตร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และมีความตระหนักในการเตรียมความพร้อมรับมือภัยแล้งอยู่ในระดับมาก ( = 3.98 , S.D. = 0.78 ) นักเรียนมีความคิดเห็นต่อการเข้าร่วมหลักสูตรฝึกอบรมรับมือภัยแล้งเพื่อเสริมสร้างความรู้และความตระหนักในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย อยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.88, S.D.= 0.13)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectหลักสูตรฝึกอบรม, ภัยแล้ง, การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศth
dc.subjectTraining Curriculum Drought climate change adaptationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมรับมือภัยแล้ง เพื่อเสริมสร้างความรู้และความตระหนักในการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายth
dc.titleA Developmen of Training Curriculumt for Coping with Drought to Enhance Knowledge and Awareness in Climate Change Adaptation for High School Studentsen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorJakkrit Jantakoonen
dc.contributor.coadvisorจักรกฤษณ์ จันทะคุณth
dc.contributor.emailadvisorjakkritj@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorjakkritj@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ThanapatToahom.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.