Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6123
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSUNISA DUANGCHATAen
dc.contributorสุนิสา ดวงชตาth
dc.contributor.advisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.advisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-06-12T02:41:23Z-
dc.date.available2024-06-12T02:41:23Z-
dc.date.created2564en_US
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6123-
dc.description.abstractThe research of Guidelines for Promoting Active Learning of Teachers under the Office of Nakhon Sawan Primary Educational Service Area Office 3 is to study the active learning instruction of teachers and the guidelines for promoting active learning of teachers under the office of nakhon sawan primary educational service area office. The method of the study was divided into two steps: Step 1, a study of active learning management of teachers, the sample consisted of 291 teachers that selected by stratified random sampling, as determined by the proportion according to each district. The data were collected by 5-level scale questionnaires with a reliability of 0.965, analyzed from the mean and standard deviation. Step 2, a study of guidelines for promoting active learning management of teachers, the group of informants was 4 experts, obtained by purposive sampling. The data were collected by interview and analyze the data by content analysis The findings indicated that 1. The results of a study on active learning management of teachers under Nakhon Sawan Primary Educational Service Area Office 3 in the holistic view was at a high level. The aspect with the highest mean was active learning environment and the lowest mean was experiential learning. 2. The results of the study on the guidelines for promoting active learning management of teachers under the Nakhon Sawan Primary Educational Service Area Office 3 found the school principal should encourage teachers to use a variety of teaching styles and techniques, design instruction according to their own context and aptitude, measure and evaluate from authentic conditions and support the budget for organizing learning activities and the Nakhon Sawan Primary Educational Service Area Office 3 should encourage and support to have supervision within the school, conducting classroom research, organizing workshops, organizing learning exchange exhibitions, organizing a network of school groups through professional learning communities, including supervising and monitoring educational institutions through the co-development supervision process.en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง แนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอนและแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 มีวิธีดำเนินการวิจัย แบ่งออกเป็น ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูผู้สอนจำนวน 291 คน ได้มาโดยวิธีสุ่มแบบแบ่งชั้น โดยกำหนดสัดส่วนตามรายอำเภอ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.965 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอน กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 4 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1. ผลการศึกษาการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 พบว่า ในภาพรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับมาก ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีบรรยากาศการเรียนรู้เชิงรุก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านการเรียนรู้ผ่านประสบการณ์จริง 2. ผลการศึกษาแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 พบว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ควรส่งเสริมให้ครูผู้สอนใช้รูปแบบและเทคนิคการสอนที่หลากหลาย ออกแบบการจัดการเรียนรู้ตามบริบทและความถนัดของตนเอง มีการวัดผลและประเมินผลตามสภาพจริง สนับสนุนงบประมาณในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 ควรส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการนิเทศภายในสถานศึกษา การทำวิจัยในชั้นเรียน จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ จัดนิทรรศการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จัดเครือข่ายกลุ่มโรงเรียนผ่านชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ รวมทั้งกำกับ ติดตามสถานศึกษาผ่านกระบวนการนิเทศแบบร่วมพัฒนาth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectแนวทางส่งเสริมth
dc.subjectการจัดการเรียนรู้th
dc.subjectการจัดการเรียนรู้เชิงรุกth
dc.subjectGuidelines for Promotingen
dc.subjectLearning Managementen
dc.subjectPromoting Active Learningen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleแนวทางการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้เชิงรุกของครูผู้สอนของครูผู้สอน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3th
dc.titleGUIDELINES FOR PROMOTING ACTIVE LEARNING OF TEACHERS UNDER THE OFFICE OF NAKHON SAWAN PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 3              en
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.coadvisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.emailadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหารและพัฒนาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SunisaDuangchata.pdf1.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.