Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6067
Title: การพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับสื่อแอนิเมชัน
The Improvement of Creative Thinking for Mattayom 6 Students By Using Phenomenon Based Learning With Animations
Authors: Nithip Narin
นิธิป นรินทร์
Kanchana Witchayapakorn
กาญจนา วิชญาปกรณ์
Naresuan University
Kanchana Witchayapakorn
กาญจนา วิชญาปกรณ์
kanchanaw@nu.ac.th
kanchanaw@nu.ac.th
Keywords: ความคิดสร้างสรรค์
การจัดการเรียนรู้แบบปรากฏการณ์เป็นฐาน
แอนิเมชัน
Creative Thinking Skill
Phenomenon Based Learning
Animation
Issue Date: 2566
Publisher: Naresuan University
Abstract: This research study aimed at: 1) developing creative thinking skill on model-learning management through Phenomenon based learning together with animations according to 80/80 efficiency standard; 2) comparing Mathayom 6 student’s creative thinking skill before and after creative thinking lesson based on model-learning management through Phenomenon based learning together with animations; 3) Studying Mathayom 6 student’s satisfaction towards to use model- learning management through Phenomenon based learning together with animations. The participants of the study were 31 students who were selected by the purposive sampling method. The research instruments were creative thinking lesson plan based on model-learning management through Phenomenon based learning together with animations, a creative thinking test, a questionnaire of student’s satisfaction towards teaching method. The statistics used for analyzing the data were the average (x̅), the standard deviation (S.D.) and the efficiency (E₁/E₂)            The results of the study showed as follow: 1) the efficiency standard of the model-learning management (E₁/E₂) was found at the efficiency standard of 80.65/80.32  2) the scores of students after the instruction were higher compared to the scores  before the lesson which was at .05 level of statistical significance. 3) The student’s satisfaction towards to use model-learning management by Phenomenon  based learning together with animations was at the highest (x̅ = 4.71, S.D. = 0.11) 
งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) หาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับ สื่อแอนิเมชัน ตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) เปรียบเทียบทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับ สื่อแอนิเมชัน 3) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับสื่อแอนิเมชัน กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนมัธยมสาธิตมหาวิทยาลัยนเรศวร จำนวน 31 คน ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาเลือกเสรี รายวิชาการพัฒนาทักษะความคิดสร้างสรรค์ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 ซึ่งได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับสื่อแอนิเมชันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 2) แบบวัดทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 6 ต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับสื่อแอนิเมชัน  3) แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6  ต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับสื่อแอนิเมชัน โดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (x̅) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ค่า t-test แบบ Dependent Samples  และค่าประสิทธิภาพ (E₁/E₂) ผลการวิจัยพบว่า 1) แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับสื่อแอนิเมชันของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ 80.65/80.32 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) ทักษะความคิดสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หลังเรียน ของนักเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  3) ความพึงพอใจของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปรากฏการณ์เป็นฐานร่วมกับสื่อแอนิเมชัน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (x̅ = 4.71, S.D. = 0.11)
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6067
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NithipNarin.pdf3.21 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.