Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6035
Title: | การวิเคราะห์องค์ประกอบคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ THE FACTOR ANALYSIS OF CHERACTERISTICS OF SCHOOL ADMINISTRATORS IN THE DIGITAL ERA UNDER THE SECONDARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE NAKHON SAWAN |
Authors: | Apisit Kongkaew อภิสิทธิ์ กองแก้ว Sathiraporn Chaowachai สถิรพร เชาวน์ชัย Naresuan University Sathiraporn Chaowachai สถิรพร เชาวน์ชัย sathirapornc@nu.ac.th sathirapornc@nu.ac.th |
Keywords: | การวิเคราะห์องค์ประกอบ คุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ผู้บริหารสถานศึกษา Composition analysis Characteristics of educational institution administrators in the digital age Educational institution administrators |
Issue Date: | 2565 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The purpose of this research is to analyze the exploratory components of the characteristics of school administrators in the digital era. of administrators of educational institutions under the jurisdiction of the Nakhon Sawan Secondary Educational Service Area Office The sample groups used in this research were administrators and teachers. Under the jurisdiction of the Nakhon Sawan Secondary Educational Service Area Office Using Comley's sample size determination. The sample size was determined to be 300 people and the sample size was increased by approximately 15 percent, which is 45 people, because it was expected to receive questionnaires, approximately 70 - 90 percent, totaling 345 people. The tool used for collecting data was a questionnaire. Data were analyzed using exploratory factor analysis. Using the analysis using the principal component affiliation method. After rotating the axis at right angles By the Varimax method
The research results found that Components and characteristics of educational institution administrators in the digital age of educational institutions under the Nakhon Sawan Secondary Educational Service Area Office have 7 elements, including having a vision in educational institution administration. Being a good role model digitally Aspects of the use of information resources in educational administration In terms of creating motivation for work Systematic monitoring of work processes Supporting educational institution operations and the use of innovation and technology in education management การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล ของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริหารและครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ โดยใช้การกำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างของคอมลีย์ กำหนดว่ากลุ่มตัวอย่างจำนวน 300 คน และได้ทำการเพิ่มจำนวนกลุ่มตัวอย่างประมาณร้อยละ 15 คือ 45 คน เนื่องจากคาดว่าจะได้รับแบบสอบถามคือประมาณร้อยละ 70 – 90 รวม 345 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ โดยใช้การวิเคราะห์ด้วยวิธีสังกัดองค์ประกอบหลัก หลังหมุนแกนแบบมุมฉาก ด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยพบว่า องค์ประกอบคุณลักษณะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัลของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์ มี 7 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านการมีวิสัยทัศน์ในการบริหารสถานศึกษา ด้านการเป็นแบบอย่างที่ดีทางดิจิทัล ด้านการใช้ทรัพยากรสารสนเทศในการบริหารจัดการศึกษา ด้านการสร้างแรงจูงใจในการทำงาน ด้านการติดตามกระบวนการทำงานอย่างเป็นระบบ ด้านการสนับสนุนการปฏิบัติงานสถานศึกษา และด้านการใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีบริหารจัดการศึกษา |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6035 |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ApisitKongkaew.pdf | 2.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.