Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6034
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSalisa Supatpakornen
dc.contributorศลิษา ศุภัสภากรณ์th
dc.contributor.advisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.advisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-05-08T02:18:32Z-
dc.date.available2024-05-08T02:18:32Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6034-
dc.description.abstractThe purpose of this research is to study the empowering the operation of the student care and assistance and study the guidelines for empowering the operation of the student care and assistance system under the Lopburi primary educational service area office 2, The first step was to study the empowering the operation of the student care and assistance system under the Lopburi primary educational service area office 2. The 302 sample consisted of school administrators and teachers under the Lopburi primary educational service area office2; 104 administrators by purposive sampling and 198 teachers by stratified sampling. The research instrument was a questionnaire. The statistics use for data analysis were mean and standard deviation. The second step was to study guidelines for empowering the operation of the student care and assistance system. The informants were 5 experts, selected by purposive sampling. The in-depth interview was used for collecting information. The data were statistically analyzed using content analysis. The results were as follows. 1. The overall empowering the administration of the student care and assistance system was at highest level. When considering each aspect, the highest mean was perception of the promoting Ethics in the student care and assistance system the lower was  creation and development of networks in the student care and support system.              2. The guidelines for empowering the administration of the student care and assistance system by administrators, should procure and allocate budgets appropriately according to requests from those responsible for the project. Encourage responsible teachers to develop knowledge and skills in operating the student care and support system. Always build morale and encouragement. In addition, a committee should be appointed to carry out the work according to its role. by allowing everyone to participate appropriately Support coordination and cooperation with various relevant agencies. By preparing a letter of agreement (MOU).en
dc.description.abstractการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเสริมพลังอำนาจการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือและศึกษาแนวทางการเสริมพลังอำนาจการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 โดยมีการดำเนินการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาการเสริมพลังอำนาจการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารและครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 จำนวนทั้งหมด 302 คน โดยแบ่งเป็น ผู้บริหารจำนวน 104 คน ได้มาจากการเลือกแบบเจาะจง และครูจำนวน 198 คน ได้มาจากวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ขั้นตอนที่ 2 แนวทางการเสริมพลังอำนาจการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้และความเชี่ยวชาญเกี่ยวกับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน 5 คน  เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลการศึกษา การเสริมพลังอำนาจการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการส่งเสริมให้มี คุณธรรมในงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน และด้านที่มีค่าเฉลี่ย ต่ำสุด คือ ด้านการสร้างและพัฒนาเครือข่ายในงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน   2. ผลการศึกษาแนวการเสริมพลังอำนาจการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2 พบว่า ผู้บริหารควรจัดหาและจัดสรรงบประมาณให้อย่างเหมาะสมตามการเสนอขอจากผู้รับผิดชอบโครงการ ส่งเสริมให้ครูผู้รับผิดชอบได้พัฒนาความรู้และทักษะในการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สร้างขวัญและกำลังใจเสมอ รวมทั้งควรแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามบทบาท โดยให้ทุกคนมีส่วนร่วมอย่างเหมาะสม สนับสนุนให้มีการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยมีการจัดทำหนังสือข้อตกลง (MOU)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการเสริมพลังอำนาจth
dc.subjectระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนth
dc.subjectEmpowermenten
dc.subjectThe student care and assistance systemen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleแนวทางการเสริมพลังอำนาจการดำเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2th
dc.titleGUIDELINES FOR EMPOWERING THE OPERATION OF THE STUDENT CARE AND ASSISTANCE SYSTEM UNDER THE LOPBURI PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 2en
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.coadvisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.emailadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SalisaSupatpakorn.pdf1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.