Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6032
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNarubet Chaopanichen
dc.contributorนฤเบศ เชาว์พานิชth
dc.contributor.advisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.advisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-05-08T02:18:32Z-
dc.date.available2024-05-08T02:18:32Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6032-
dc.description.abstractThe purposes of this research were to 1) study the image of vocational institutes in Phitsanulok under the Office of the Vocational Education Commission, and 2) to study the guidelines for the image of vocational institutes in Phitsanulok under the Office of the Vocational Education Commission. The research was conducted in two phases, phase 1: the study of the image of vocational institutes in Phitsanulok under the Office of the Vocational Education Commission. The sample group covers school administrators and teachers in vocational institutes in Phitsanulok under the Office of the Vocational Education Commission, totaling 210 individuals. The data were analyzed using mean values and standard deviations. Phase 2: the study of the guidelines for the image of vocational institutes in Phitsanulok under the Office of the Vocational Education Commission. The group of information providers consists of qualified individuals totaling four people. Data were collected through interviews and analyzed using content analysis. The research findings indicated that. 1. The overall results of the image for vocational institutes in Phitsanulok under the Office of the Vocational Education Commission were at a high level. When examining specific aspects, it is found that the area with the highest average score is engaging in activities with society, while the area with the lowest average score is student quality. 2. The study of the image for vocational institutes in Phitsanulok under the Office of the Vocational Education Commission reveals that administrators of vocational education in Phitsanulok should enhance their understanding of the educational institution's image. Regular educational programs for administrators, operational strategies for image management, clarification of policies for image enhancement, allocation of a budget for image development, and organizing image development training to provide knowledge to teachers and educational personnel are important policies to implement.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพลักษณ์ของสถานศึกษาและแนวทางการพัฒนาภาพลักษณ์ของสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยวิธีดำเนินการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาภาพลักษณ์ของสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยใช้แบบสอบถามภาพลักษณ์ของสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก จำนวน 210 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยกำหนดกลุ่มขนาดตัวอย่าง ผู้บริหารวิทยาลัย โดยการเลือกแบบเจาะจง จำนวน 21 คน และครูได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น ตามจำนวนครูแต่ละวิทยาลัย จำนวน 189 คน ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการพัฒนาภาพลักษณ์ของสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 4 คน โดยการเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ภาพลักษณ์ของสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการทำกิจกรรมร่วมกับสังคม และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ด้านคุณภาพผู้เรียน 2. แนวทางการพัฒนาภาพลักษณ์ของสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา พบว่า คณะผู้บริหารสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ควรสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับภาพลักษณ์สถานศึกษาให้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา อย่างสม่ำเสมอ ผู้บริหารสถานศึกษาของสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ควรมีการดำเนินการดำเนินการบริหารจัดการภาพลักษณ์ของสถานศึกษาอย่างสม่ำเสมอ อาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลก ควรชี้แจงนโยบายและทิศทางในการพัฒนาภาพลักษณ์ของสถานศึกษาอย่างสม่ำเสมอ สนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาภาพลักษณ์ และการจัดการอบรมการพัฒนาภาพลักษณ์ให้ความรู้แก่ครูและบุคลากรทางการศึกษา และกำหนดให้การพัฒนาภาพลักษณ์ของสถานศึกษาเป็นนโยบายสำคัญ เพื่อการนำไปสู่การปฏิบัติth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectภาพลักษณ์ของสถานศึกษาth
dc.subjectอาชีวศึกษาth
dc.subjectImageen
dc.subjectVocational Educationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleแนวทางการพัฒนาภาพลักษณ์ของสถานศึกษาอาชีวศึกษาจังหวัดพิษณุโลกสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาth
dc.titleTHE GUIDELINES OF IMAGE DEVELOPMENT FOR VOCATIONAL INSTITUTES IN PHITSANULOK PROVINCE UNDER OFFICE OF THE VOCATIONAL EDUCATION COMMISSIONen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSathiraporn Chaowachaien
dc.contributor.coadvisorสถิรพร เชาวน์ชัยth
dc.contributor.emailadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsathirapornc@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NarubetChaopanich.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.