Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6030
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Jakaphan Rodrid | en |
dc.contributor | จักรพันธ์ รอดฤทธิ์ | th |
dc.contributor.advisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.advisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-05-08T02:18:31Z | - |
dc.date.available | 2024-05-08T02:18:31Z | - |
dc.date.created | 2566 | en_US |
dc.date.issued | 2566 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6030 | - |
dc.description.abstract | The research aims to study innovative thinking skills of teachers in Phichit Primary Educational Service Area Office 1 and to study guidelines for promoting innovative thinking skills of teachers in Phichit Primary Educational Service Area Office 1 The research is conduceted in 2 steps. Step 1, study innovative thinking skills of teachers in school under Phichit Primary Educational Service Area Office 1. The sample group is teachers in school under Phichit Primary Educational Service Area Office, academic years 2566 amount 274 people. Select sample group by using stratified random sampling, according to the proportion of teachers in each district. The data was collected by questionnaire, 5-level rating scale. Analyze the data with mean and standard deviation. Step 2, study guidelines for promoting innovative thinking skills of teachers in Phichit Primary Educational Service Area Office 1, the informants were senior expert with knowledge and expertise about innovative thinking skills amount 5 people. The data was collected by purposive selection. Collecting data by using an interview form. The Data were analyzed by using content analysis. The research findings indicated that 1. The result of innovative thinking skills of teachers in Phichit Primary Educational Service Area Office 1, when considers the overview is at the high level and highest average. Brainstorming skill was a high level and the lowest average was skill of ask question thought provoking. 2. The result of guidelines for promoting innovative thinking skills of teachers in Phichit Primary Educational Service Area Office 1, found that Primary Educational Service Area Office organize training workshops. Use process of estimate academic standing, use methods of join thinking and joint action, use data synthesis and use public relations and organize competitions and create a platform for teachers. Educational institution administrators should encourage organizing knowledge exchange activities and professional learning communities (PLC) and use R&D (Research and Development) research. Arrange study visits. Teachers use creativity and freedom in their work. Use the Lesson Learned method. The teachers can express their opinions and can linking various reasons from problems by using inquiry, observe and experiment. Teachers used Basic Education Core Curriculum B.E. 2551, in creating a model in an innovative format for teaching and learning. Teachers fully understand the problems and plan every time for work and organize teaching and learning for achieve goals. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครู และศึกษาแนวทางการส่งเสริมทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 โดยมีการดำเนินการวิจัย แบ่งออกเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ครูในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 ปีการศึกษา 2566 จำนวน 274 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling) ตามสัดส่วนของครูแต่ละอำเภอ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม มีลักษณะเป็นมาตรประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 การศึกษาแนวทางการส่งเสริมทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 กลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความรู้และประสบการณ์ ด้านการบริหารสถานศึกษาหรือด้านการพัฒนาและนวัตกรรม จำนวน 5 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง (purposive Selection) เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. ผลศึกษาทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่าด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ทักษะด้านการระดมความคิดร่วมกัน อยู่ในระดับมาก และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด คือ ทักษะด้านการตั้งคำถามกระตุ้นความคิด 2. ผลศึกษาแนวทางการส่งเสริมทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 พบว่า สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจัดให้มีการอบรมเชิงปฏิบัติการ ใช้กระบวนการประเมินวิทยฐานะ (วPA) ใช้วิธีการร่วมคิด ร่วมทำ ใช้วิธีการสังเคราะห์ข้อมูล ใช้การประชาสัมพันธ์ และจัดการประกวดแข่งขัน สร้างเวทีให้ครู ผู้บริหารสถานศึกษาควรส่งเสริมการจัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ใช้การจัดการทำงานวิจัยแบบ R&D (Research and Development) จัดมีการศึกษาดูงาน ครูใช้ความคิดสร้างสรรค์และอิสระในการทำงาน ใช้วิธีการถอดบทเรียน (Lesson Learned) ครูได้แสดงออกทางความคิดโดยการพูดแสดงความคิดเห็น และครูใช้การเชื่อมโยงหาเหตุผลต่าง ๆ จากปัญหาโดยใช้การสอบถาม สังเกตและทดลอง ครูใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานในการสร้างแบบจำลองในรูปแบบนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอน ครูทำความเข้าใจกับปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างถ่องแท้ และวางแผนทุกครั้ง เพื่อให้การทำงานและการจัดการเรียนการสอนบรรลุตามเป้าหมาย | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | แนวทางการส่งเสริม | th |
dc.subject | ทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครู | th |
dc.subject | guidelines | en |
dc.subject | innovative thinking skills of teachers | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | แนวทางการส่งเสริมทักษะการคิดเชิงนวัตกรรมของครูโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 | th |
dc.title | GUIDELINES FOR INNOVATIVE THINKING SKILLS OF TEACHERS IN PHICHIT PRIMARY EDUCATIONAL SERVICE AREA OFFICE 1 | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Sathiraporn Chaowachai | en |
dc.contributor.coadvisor | สถิรพร เชาวน์ชัย | th |
dc.contributor.emailadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | sathirapornc@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
JakaphanRodrid.pdf | 1.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.