Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6024
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPornyanee Srisawaten
dc.contributorพรญาณี ศรีสวัสดิ์th
dc.contributor.advisorBrapaas Pengpoomen
dc.contributor.advisorประภาษ เพ็งพุ่มth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-05-08T02:18:30Z-
dc.date.available2024-05-08T02:18:30Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6024-
dc.description.abstractThe objectives of this research were 1) to determine the effectiveness of cooperative learning activities using STAD techniques combined with skill exercises. To develop reading comprehension abilities for Prathomsuksa 3 students to be effective according to the 80/80 criterion. 2) To compare reading comprehension ability. 3) to study the satisfaction of grade 3 students towards the cooperative learning activities by STAD technique for grade 3 students. STAD combined with skill exercises The sample group used in the research were Prathom Suksa 3 students in the second semester of the academic year 2022 at Wat Mongkolsathit School. Bang Ta Ngai Subdistrict Banphot Phisai District Nakhon Sawan Province, 1 room, 27 people by using specific selection method. The research tools were: 1) 6 plans for cooperative learning activities using STAD techniques, 2 hours each, totaling 12 hours; 3) a pre- and post-learning reading comprehension test on the subject of reading comprehension, 30 items, 4) a satisfaction questionnaire of primary school students. The 3rd towards cooperative learning with STAD techniques combined with skill exercises. The statistics used for data analysis were mean, standard deviation (S.D.), dependent t-test. The results showed that 1) the efficiency of the cooperative learning activities using STAD techniques combined with skill exercises To develop reading comprehension abilities For grade 3 students, the efficiency (E1/E2) was 86.85/80.37, which was higher than the specified criterion. For Prathomsuksa 3 students, after cooperative learning with STAD techniques combined with higher skill exercises before school. 3) The satisfaction of Prathom Suksa 3 students towards the cooperative learning activities using STAD techniques and skill exercises at the .05 level of significance. Overall, satisfaction was at the highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อหาประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ร่วมกับแบบฝึกทักษะ เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 2) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถด้านการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ร่วมกับแบบฝึกทักษะ 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ร่วมกับแบบฝึกทักษะ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนวัดมงคลสถิตย์ ตำบลบางตาหงาย อำเภอบรรพตพิสัย จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 1 ห้อง จำนวน 27 คน โดยใช้วิธีการเลือกแบบเฉพาะเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD จำนวน 6 แผน แผนละ 2 ชั่วโมง รวมเวลา 12 ชั่วโมง 2) แบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีเนื้อหาเป็นบทอ่าน จำนวน 6 แบบฝึก 3) แบบทดสอบวัดความสามารถด้านการอ่านจับใจความสำคัญก่อนและหลังการเรียนรู้ เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญ จำนวน 30 ข้อ 4) แบบสอบถามความพึงพอใจต่อของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ร่วมกับแบบฝึกทักษะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบ t-test dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) ประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ร่วมกับแบบฝึกทักษะ เพื่อพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีประสิทธิภาพ (E1/E2) เท่ากับ 86.85/80.37 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด 2) ความสามารถด้านการอ่านจับใจความสำคัญ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หลังการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ร่วมกับแบบฝึกทักษะสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ร่วมกับแบบฝึกทักษะ โดยภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด   th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD; แบบฝึกทักษะ; การอ่านจับใจความสำคัญth
dc.subjectSTAD Cooperative Learning; Skill Exercises; Reading Comprehensionen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนาความสารมารถด้านการอ่านจับใจความสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยเทคนิค STAD ร่วมกับแบบฝึกทักษะth
dc.titleThe development of reading comprehension abilities for Prathomsuksa 3 students by cooperative learning with STAD techniques combined with skill exercisesen
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorBrapaas Pengpoomen
dc.contributor.coadvisorประภาษ เพ็งพุ่มth
dc.contributor.emailadvisorbrapaasp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorbrapaasp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PornyaneeSrisawat.pdf8.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.