Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6017
Title: รูปแบบการบริหารนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
A MANAGEMENT MODEL OF LEARNING INNOVATION TO IMPOROVE THE STUDENTS’ QUALITY OF BASIC SCHOOLS IN HIGH AREA AND WILDERNESS
Authors: Wichian Nanta
วิเชียร นันต๊ะ
Jitima Wannasri
จิติมา วรรณศรี
Naresuan University
Jitima Wannasri
จิติมา วรรณศรี
jitimaw@nu.ac.th
jitimaw@nu.ac.th
Keywords: การบริหาร
นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้
สถานศึกษา
พื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร
Management
Learning Innovation
Schools
High area and wilderness
Issue Date: 2566
Publisher: Naresuan University
Abstract: The purpose of this research was to develop a management model of learning innovation to improve the students’ quality of basic schools in high area and wilderness. The research methodology had 3 steps: Step 1: studying the components and guideline for management of learning innovation to improve the students’ quality of basic schools in high area and wilderness. Step 1.1) the data sources included documents and related research. The tool used was a document analysis form. Step 1.2 the data sources were 3 best practice schools. The tool used was an interview form. Step 1.3 the data sources were 5 experts. The tool used was an interview form. Step 2: creating and checking the appropriateness of the model. The data sources were 10 experts. The tool used was checking the appropriateness form of draft model. Step 3: evaluating the feasibility and usefulness of the model. The data providers included 60 school administrators and 60 head teachers of academic affair, totaling 120 people. The tool used was a evaluating the feasibility and usefulness of model form. The data were analyzed by averaging and standard deviation. The research found that management model of learning innovation to improve the students’ quality of basic schools in high area and wilderness had 6 components included component 1: principle, component 2: objectives, component 3: input factors included 3.1) school administrators, 3.2) teachers, 3.3) organizational culture that facilitates the development of learning innovation, 3.4) learning resources, media and technology, component 4: the development learning innovation process included 4.1) problem analysis, 4.2) innovation design and creation, 4.3) Innovation trial, 4.4) innovation used evaluation, 4.5) reflection and publication, component 5: students’ quality, and component 6: success factors. The result of model evaluation found that the feasibility and usefulness were assessed at the highest level.
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร วิธีดำเนินการวิจัยมี 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการบริหารนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร ขั้นที่ 1.1)  แหล่งข้อมูล ได้แก่ เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสังเคราะห์เอกสาร  ขั้นที่ 1.2)  แหล่งข้อมูลคือ สถานศึกษาที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี จำนวน 3 โรงเรียน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสัมภาษณ์ และขั้นที่ 1.3) ผู้ให้ข้อมูล คือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสัมภาษณ์  ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบ แหล่งข้อมูลคือ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบตรวจสอบความเหมาะสมของร่างรูปแบบ  ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบ ผู้ให้ข้อมูลคือ ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา จำนวน 60 คน และครูหัวหน้ากลุ่มงานบริหารวิชาการ จำนวน 60 คน รวมจำนวน 120 คน เครื่องมือที่ใช้คือ แบบประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการบริหารนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานบนพื้นที่สูงในถิ่นทุรกันดาร มี 6 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 หลักการ องค์ประกอบที่ 2 วัตถุประสงค์ องค์ประกอบที่ 3 ปัจจัยนำเข้า ประกอบด้วย 3.1)  ผู้บริหารสถานศึกษา 3.2)  ครูผู้สอน 3.3)  วัฒนธรรมองค์กรที่เอื้อต่อการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ 3.4)  แหล่งเรียนรู้ สื่อ และเทคโนโลยี องค์ประกอบที่ 4 กระบวนการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ ประกอบด้วย  4.1)  การวิเคราะห์สภาพปัญหา 4.2)  การออกแบบและสร้างนวัตกรรม  4.3)  การทดลองใช้นวัตกรรม  4.4)  การประเมินผลการใช้นวัตกรรม  4.5)  การสะท้อนผลและการเผยแพร่  องค์ประกอบที่ 5 คุณภาพผู้เรียน และองค์ประกอบที่ 6 ปัจจัยความสำเร็จ ผลการประเมินรูปแบบพบว่า มีผลการประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ในระดับมากที่สุด
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6017
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WichianNanta.pdf2.86 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.