Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6013
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWorrawat Kittiwangen
dc.contributorวรวัติ กิติวงค์th
dc.contributor.advisorVithaya Jansilaen
dc.contributor.advisorวิทยา จันทร์ศิลาth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-05-08T02:18:26Z-
dc.date.available2024-05-08T02:18:26Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6013-
dc.description.abstractThis research aims to develop the administrative model of educational sufficiency economy philosophy learning center in secondary school in northern Thailand. The research were divided into three stages; the first stage is studying complements and guidelines for the development the administrative model of educational sufficiency economy philosophy learning center in secondary school in northern Thailand. The resources including documents, three schools with best practice and qualified persons interview. The tools used in this study were: documents synthetic form and interviewing form. Data analysis by content analysis. The second stage is creating and verifying the appropriateness of the development The Administrative Model and the group of informants consisted of experts by focus group discussion. The tools used in this study were group conversation recording form. Data analysis by content analysis. The third stage is the assessment of the administrative model of educational sufficiency economy philosophy learning center in secondary school in northern Thailand on the possibilities and usefulness from the sample with administration by 45 school administrators. The tools used in this study were questionnaires that checked the correctness. Data analysis by mean and standard deviation. The finding of this research found that the administrative model of educational sufficiency economy philosophy learning center in secondary school in northern Thailand consisted of 6 complements and success conditions; the first complement is the propose of the model, the second complement is the principle of the Model, the third complements is import factor of the model, the forth complements is the administrative process, the fifth complements is resultant and the last complements is the assessment guidelines and success conditions. And the results of the evaluation of the administrative model revealed that the possibility aspect is at a high level, and the usefulness is at the high level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตภาคเหนือ มีขั้นตอนการดำเนินการวิจัย 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 การศึกษาองค์ประกอบและแนวทางการบริหารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตภาคเหนือ แบ่งออกเป็น 3 ขั้นย่อย ประกอบด้วย ขั้นที่ 1.1 การศึกษาองค์ประกอบของการบริหารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตภาคเหนือ โดยการสังเคราะห์เอกสาร ขั้นที่ 1.2 การศึกษาแนวทางการบริหารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตภาคเหนือโดยศึกษาจากโรงเรียนที่มีวิธีปฏิบัติที่ดี (Best Practice) จำนวน 3 แห่ง ขั้นที่ 1.3 การศึกษาแนวทางการบริหารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตภาคเหนือโดยการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ขั้นตอนที่ 2 การสร้างและตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตภาคเหนือ แบ่งออกเป็น 2 ขั้นย่อย ประกอบด้วย ขั้นที่ 2.1 การยกร่างรูปแบบการบริหารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตภาคเหนือ ขั้นที่ 2.2 การตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา เขตภาคเหนือ โดยผู้ทรงคุณวุฒิด้วยการจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) ขั้นตอนที่ 3 การประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการบริหารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตภาคเหนือโดยผู้บริหารโรงเรียน ใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้บริหารโรงเรียนที่ผ่านการรับรองเป็นศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา จำนวน 45 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการบริหารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา เขตภาคเหนือ ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบที่ 1 วัตถุประสงค์ของรูปแบบ องค์ประกอบที่ 2 หลักการของรูปแบบ องค์ประกอบที่ 3 ปัจจัยนำเข้า องค์ประกอบที่ 4 กระบวนการบริหาร องค์ประกอบที่ 5  ผลลัพธ์ องค์ประกอบที่ 6 แนวทางการประเมิน และเงื่อนไขความสำเร็จผลการตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา ผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่ามีความเหมาะสมส่วนผลการประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการบริหารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาผู้บริหารโรงเรียนมีความเห็นว่ามีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมาก และมีความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectรูปแบบการบริหารth
dc.subjectศูนย์การเรียนรู้th
dc.subjectเศรษฐกิจพอเพียงth
dc.subjectAdministrative Modelen
dc.subjectLearning Centeren
dc.subjectSufficiency Economy Philosophyen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for teachers of vocational subjectsen
dc.titleรูปแบบการบริหารศูนย์การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษาเขตภาคเหนือth
dc.titleTHE ADMINISTRATIVE MODEL OF EDUCATIONAL SUFFICIENCY ECONOMY PHILOSOPHY LEARNING CENTER IN SECONDARY SCHOOL IN THE NORTH PART OF THAILANDen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorVithaya Jansilaen
dc.contributor.coadvisorวิทยา จันทร์ศิลาth
dc.contributor.emailadvisorVithayaj@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorVithayaj@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Education (Ed.D.)en
dc.description.degreenameการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WorrawatKittiwang.pdf3.81 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.