Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5947
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Supattra Phetkamhaeng | en |
dc.contributor | สุพัตรา เพ็ชรกำแหง | th |
dc.contributor.advisor | Artorn Nokkaew | en |
dc.contributor.advisor | อาทร นกแก้ว | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-01-30T02:30:43Z | - |
dc.date.available | 2024-01-30T02:30:43Z | - |
dc.date.created | 2566 | en_US |
dc.date.issued | 2566 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5947 | - |
dc.description.abstract | This research has two objectives. 1. To study the guidelines of problem-based learning activities to develop critical thinking skills in geometric transformations topic for Mathayomsuksa 2 students. And 2. To compare the students' critical thinking skills before and after the problem-based learning. This study used a classroom action research model. Research tools, including learning management plans, activity sheets, worksheets, reflective forms of learning management results and the Critical Thinking Skills test, were analyzed by content analysis and triangulation. The results of the research were as follows. This research could synthesize three practical guidelines. It consisted of preparation before and during the instruction. Giving students the opportunities to use their own ideas to come up with answers. In case that problem is complex or concept is new to the students, teachers should use methods or situations that students are familiar with. Teachers need to facilitate students to create a common understanding of problem situations in order to draw students' interest in learning and providing thinking by using questions. creating atmosphere that students are responsible for their own learning. With the statistical testing (t-test), critical thinking skill of the students after the instruction is statistically significantly higher than before the instruction. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์สองประการคือ 1. เพื่อศึกษาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 และ 2. เพื่อเปรียบเทียบทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณของนักเรียนก่อนและหลังการเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน การศึกษาครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงปฏิบัติการในชั้นเรียน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ ใบกิจกรรม ใบงาน แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ และแบบทดสอบวัดทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ผลการวิจัยพบว่า งานวิจัยนี้สามารถสังเคราะห์แนวทางปฏิบัติได้สามแนวทาง ประกอบด้วยการเตรียมการก่อนและระหว่างการสอน เปิดโอกาสให้นักเรียนใช้ความคิดของตนเองในการหาคำตอบ ในกรณีที่ปัญหามีความซับซ้อนหรือเป็นแนวคิดใหม่สำหรับนักเรียน ครูควรใช้วิธีการหรือสถานการณ์ที่นักเรียนคุ้นเคย ครูจำเป็นต้องอำนวยความสะดวกให้นักเรียนสร้างความเข้าใจร่วมกันในสถานการณ์ปัญหาเพื่อดึงความสนใจของนักเรียนในการเรียนรู้และให้ความคิดโดยใช้คำถาม สร้างบรรยากาศให้นักเรียนมีความรับผิดชอบต่อการเรียนรู้ของตนเอง ด้วยการทดสอบทางสถิติ (t-test) พบว่าทักษะการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน | th |
dc.subject | ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ | th |
dc.subject | problem-based learning | en |
dc.subject | critical thinking skills | en |
dc.subject.classification | Mathematics | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | การพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง การแปลงทางเรขาคณิต โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบปัญหาเป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 | th |
dc.title | DEVELOPMENT OF CRITICAL THINKING SKILLS ON GEOMETRIC TRANSFORMATION BY USING PROBLEM-BASED LEARNING FOR MATHAYOMSUKSA 2 STUDENTS | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Artorn Nokkaew | en |
dc.contributor.coadvisor | อาทร นกแก้ว | th |
dc.contributor.emailadvisor | artornn@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | artornn@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SupattraPhetkamheng.pdf | 3.51 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.