Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5942
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTanyared Konjantesen
dc.contributorธัญญเรศ ก้อนจันทร์เทศth
dc.contributor.advisorSirinapa Kijkuakulen
dc.contributor.advisorสิรินภา กิจเกื้อกูลth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-01-30T02:30:42Z-
dc.date.available2024-01-30T02:30:42Z-
dc.date.created2023en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5942-
dc.description.abstract   This research aimed to study the implementation of STEAM education to promote Grade 6 students’ creative thinking skills and attitudes toward science about nutrients. The research methodology was three cycles of action research, and participants were 17 students at the educational opportunity expansion school in Kamphaeng Phet Province. The research instruments included lesson plans, teaching reflections, students’ artifacts and notes, a creative thinking survey, and a Likert-scale scientific attitude form. Content analysis and triangulation were used to examine the data. Then, findings revealed that teaching based on STEAM education needed to use problematic issues encountered in the students’ daily lives and assign them to search for information from a variety of reliable sources. Also teaching encouraged them to create a task along with a process of solving the problem that included steps of planning, creating, and presenting various works and gave them the opportunity to exchange their knowledge and comments with each other. In addition, most students appeared to have developed their creative thinking skills, generating diverse ideas, constructing new ideas, and evaluating and improving their ideas, respectively. Besides, their attitude towards science had greatly improved after all the teaching.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้แบบสะตีมศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารอาหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยดำเนินการวิจัยตามกระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 3 วงจรปฏิบัติการ ผู้เข้าร่วมวิจัยคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนขยายโอกาสแห่งหนึ่งในจังหวัดกำแพงเพชร จำนวน 17 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ ชิ้นงาน ใบกิจกรรม แบบวัดความสามารถด้านความคิดสร้างสรรค์ และแบบประเมินเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและการตรวจสอบแบบสามเส้า ผลการวิจัยพบว่า แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่สามารถส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ควรกำหนดสถานการณ์ปัญหาที่นักเรียนพบเจอได้ในชีวิตประจำวัน สืบค้นข้อมูลเพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหาจากแหล่งข้อมูลที่หลากหลายและมีความน่าเชื่อถือ ครูควรให้นักเรียนร่วมมือกันสร้างชิ้นงานควบคู่กับการแก้ปัญหา รวมถึงวางแผนดำเนินการสร้างชิ้นงานและนำเสนอชิ้นงานในรูปแบบต่างๆ และเปิดโอกาสให้นักเรียนมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อเสนอแนะซึ่งกันและกัน นอกจากนี้ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่สามารถพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ในองค์ประกอบของการสร้างความคิดที่หลากหลายได้ดีที่สุด รองลงมาคือ การสร้างความคิดสร้างสรรค์ และการประเมินและปรับปรุงความคิดตามลำดับ และมีเจตคติต่อวิทยาศาสตร์หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectสะตีมศึกษาth
dc.subjectความคิดสร้างสรรค์th
dc.subjectเจตคติต่อวิทยาศาสตร์th
dc.subjectSTEAM Educationen
dc.subjectCreative thinkingen
dc.subjectAttitudes towards scienceen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleSTEAM Education for Creative Thinking Skills and Attitude towards Science on Nutrient of Grade  6 Studentsen
dc.titleการจัดการเรียนรู้แบบสะตีมศึกษาเพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์และเจตคติต่อวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารอาหาร ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6th
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorSirinapa Kijkuakulen
dc.contributor.coadvisorสิรินภา กิจเกื้อกูลth
dc.contributor.emailadvisorsirinapaki@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsirinapaki@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TanyaredKonjantes.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.