Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5936
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Chaowalit Panpueksa | en |
dc.contributor | เชาวลิต พันธุ์พฤกษา | th |
dc.contributor.advisor | Anucha Kornpuang | en |
dc.contributor.advisor | อนุชา กอนพ่วง | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-01-30T02:30:39Z | - |
dc.date.available | 2024-01-30T02:30:39Z | - |
dc.date.created | 2566 | en_US |
dc.date.issued | 2566 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5936 | - |
dc.description.abstract | This research was an application research and development which aimed at developing model for the whole school approach of school to develop the responsibility students in Primary School. The research methodology had three phases: 1) Study component characteristics responsibility of the whole school approach of school to develop the characteristics responsibility students in Primary School from document and research. Conducted interviews with academic teachers in 6 schools participating in the Teacher and School Quality Program (TSQP) using an interview form conduct a content analysis, from transcripts based on interview forms. 2) Create and checking of model for the whole school approach of school to develop the responsibility students in Primary School. Bring the data obtained from the study in step 1 to draft of model for the whole school approach of school to develop the responsibility students in Primary School, and conducted a group discussion from 9 experts to analyze the content. Then examined the draft of model, using the appropriate evaluation of model by 5 level estimation scale. Data were analyzed using statistics, arithmetic mean (X), and standard deviation (S.D.). 3) There was the evaluation of model for the whole school approach of school to develop the responsibility students in Primary School in accuracy, suitability, usefulness and possibility. Assessed by school administrators and teachers in educational institutions participating in the leader School of 3 schools, 1 of which were school administrators and 2 teachers in the total 9 person. Data were analyzed using statistics, arithmetic mean (X), and standard deviation (S.D.). The findings were as follows: 1. The component analysis of the whole school approach of school to develop the responsibility students in Primary School of 4 components which were: Component 1: Educational Institution Management, Component 2: Learning Management, Component 3: Organizing Activities to Promote Learning, Component 4: Organizing community relations activities and participation of parents and communities. The components of the nature of 3 aspects of responsibility were self-responsibility, family responsibility, social responsibility. 2. Model for the whole school approach of school to develop the responsibility students in Primary School of components which were: 1) 6 Principles 2) Objectives 3) components which were: Component 1: Educational Institution Management, Component 2: Learning Management, Component 3: Organizing Activities to Promote Learning, Component 4: Organizing community relations activities and participation of parents and communities. 4) The results obtained in 3 aspects were: self-responsibility, students know their duties and rules, students can complete their duties, students are diligent patient, students can protect themselves from danger, students can take care of their health and keep their bodies healthy. Family responsibility, students intend to help with various tasks within the house, students conduct themselves for happiness and don’t bring trouble to their families. Social responsibility, students conduct themselves properly, students can contribute to society for the public, students are actively involved in school and community activities, students can uphold the interests and reputation of the school and the community. The result of examining the draft model for the whole school approach of school to develop the responsibility students in Primary School found that; the draft model was suitability at the highest level. 3. Model for the whole school approach of school to develop the responsibility students in Primary School were accuracy at a high level, suitability at the highest level, usefulness at the highest level and possibility at the highest level. The handbook of Model for the whole school approach of school to develop the responsibility students in Primary School overall of accuracy at the highest level, suitability at a high level, usefulness at the highest level and possibility at the highest level. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการประยุกต์ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนทั้งระบบเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความรับผิดชอบของนักเรียนระดับประถมศึกษา มีวิธีดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1) การศึกษาองค์ประกอบ คุณลักษณะความรับผิดชอบ และแนวทางของการบริหารโรงเรียนทั้งระบบเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความรับผิดชอบระดับประถมศึกษา ที่ได้จากเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ผู้บริหารและครูที่เข้าร่วมโครงการโรงเรียนพัฒนาตนเอง (Teacher and School Quality Program: TSQP) จำนวน 6 แห่ง โดยใช้แบบสัมภาษณ์ ทำการวิเคราะห์เนื้อหาจากแบบสัมภาษณ์ 2) การสร้างและตรวจสอบรูปแบบการบริหารโรงเรียนทั้งระบบเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความรับผิดชอบของนักเรียนระดับประถมศึกษา นำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาในขั้นตอนที่ 1 มายกร่างรูปแบบการบริหารโรงเรียนทั้งระบบเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความรับผิดชอบระดับประถมศึกษา และดำเนินการสนทนากลุ่มจากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 9 คน วิเคราะห์เนื้อหา แล้วดำเนินการประเมินความเหมาะสมร่างรูปแบบ โดยใช้แบบประเมินความเหมาะสมของรูปแบบมีลักษณะมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าสถิติ ค่าเฉลี่ย (X) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) 3) การประเมินรูปแบบการบริหารโรงเรียนทั้งระบบเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความรับผิดชอบของนักเรียนระดับประถมศึกษาในด้านความถูกต้อง ความเหมาะสม ความเป็นประโยชน์ และความเป็นไปได้ ประเมินโดยผู้บริหารจำนวน 1 คนและครู จำนวน 2 คน ในโรงเรียนต้นแบบ/แกนนำ จำนวน 3 โรงเรียน รวมทั้งสิ้น 9 คน โดยใช้แบบประเมินรูปแบบ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าสถิติ ค่าเฉลี่ย (X) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ผลการวิจัยพบว่า 1. องค์ประกอบของการบริหารโรงเรียนทั้งระบบเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความรับผิดชอบระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา องค์ประกอบที่ 2 ด้านการจัดการเรียนรู้ องค์ประกอบที่ 3 ด้านการจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ องค์ประกอบที่ 4 ด้านการจัดกิจกรรมชุมชนสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน องค์ประกอบของลักษณะความรับผิดชอบ 3 ด้าน คือ ด้านความรับผิดชอบต่อตนเอง ด้านความรับผิดชอบต่อครอบครัว ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม 2. รูปแบบการบริหารโรงเรียนทั้งระบบเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความรับผิดชอบของนักเรียนระดับประถมศึกษา ประกอบด้วย 1) หลักการ ประกอบด้วย 6 หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) องค์ประกอบ 4 องค์ประกอบ คือ องค์ประกอบที่ 1 ด้านการบริหารจัดการสถานศึกษา องค์ประกอบที่ 2 องค์ประกอบที่ 3 การจัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ องค์ประกอบที่ 4 การจัดกิจกรรมชุมชนสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองและชุมชน 4) ผลที่ได้รับ 3 ด้าน คือ ด้านความรับผิดชอบต่อตนเอง ด้านความรับผิดชอบต่อครอบครัว ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม ผลการตรวจสอบร่างรูปแบบการบริหารโรงเรียนทั้งระบบเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความรับผิดชอบของนักเรียนระดับประถมศึกษา พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด 3. รูปแบบการบริหารโรงเรียนทั้งระบบเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความรับผิดชอบของนักเรียนระดับประถมศึกษา มีความถูกต้องอยู่ในระดับมาก มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด มีความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด คู่มือการใช้รูปแบบการบริหารโรงเรียนทั้งระบบเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความรับผิดชอบของนักเรียนระดับประถมศึกษา ในภาพรวม มีความถูกต้องอยู่ในระดับมากที่สุด มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก มีความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมากที่สุด และมีความเป็นไปได้อยู่ในระดับมากที่สุด | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การบริหารโรงเรียนทั้งระบบ | th |
dc.subject | คุณลักษณะความรับผิดชอบ | th |
dc.subject | The Whole School Approach | en |
dc.subject | Responsibility | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Training for pre-school teachers | en |
dc.title | รูปแบบการบริหารโรงเรียนทั้งระบบเพื่อพัฒนาคุณลักษณะความรับผิดชอบของนักเรียนระดับประถมศึกษา | th |
dc.title | MODEL FOR THE WHOLE SCHOOL APPROACH OF SCHOOL TO DEVELOP THE RESPONSIBILITY STUDENTS IN PRIMARY SCHOOL | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Anucha Kornpuang | en |
dc.contributor.coadvisor | อนุชา กอนพ่วง | th |
dc.contributor.emailadvisor | anuchako@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | anuchako@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Doctor of Education (Ed.D.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Educational Administration and Development | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ChaowalitPanpueksa.pdf | 22.74 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.