Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5920
Title: การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านด้วยโครงงานเป็นฐานร่วมกับ แอปพลิเคชัน Every Cicuit เพื่อพัฒนาทักษะการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า ของนักเรียนสาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
THE DEVELOPMENT OF FLIPPED CLASSROOM LEARNING USING PROJECT BASED LEARNING AND EVERY CIRCUIT APPLICATION TO DEVELOP ELECTRICAL CIRCUIT ANALYSIS SKILLS DEPARTMENT OF ELECTRONICS VOCATIONAL CERTIFICATE STUDENTS
Authors: Tichaporn Fhaitong
ฐิฌาภรณ์ ไฝ่ทอง
Kobsook Kongmanus
กอบสุข คงมนัส
Naresuan University
Kobsook Kongmanus
กอบสุข คงมนัส
kobsookk@nu.ac.th
kobsookk@nu.ac.th
Keywords: ห้องเรียนกลับด้าน
โครงงานเป็นฐาน
แอปพลิเคชัน Every Circuit
ทักษะการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า
Flipped Classroom
Project Based Learning
Every Circuit Application
Electrical Circuit Analysis Skills
Issue Date: 2565
Publisher: Naresuan University
Abstract: This research is Flipped Classroom Learning using Project Based Learning and EveryCircuit Application. The samples were 20 students from vocational certificate level Vocational Certificate Student Sample Students at the vocational certificate level Vocational Certificate Student, Sri Samrong Industrial and Community Education College who enrolled in the subject Direct Current Circuit, Semester 1, Academic Year 2022 and selected by purposive sampling. The research instruments were 1) Lesson plan of Flipped Classroom learning using Project Based Learning and EveryCircuit Application. 2) Achievement test of Flipped Classroom learning using Project Based Learning and EveryCircuit Application. 3) The Assessment of Electrical Circuit Analysis Skills and 4) The Assessment of Project Based Learning. Analyzed research data by using mean (X-​), Standard Deviation (SD), Percentage (%) and test the hypothesis with t-test for dependent-samples. The result of the research was: 1) The quality assessment results of Flipped Classroom learning using Project Based Learning and EveryCircuit Application, from five experts was at a high (X-​ = 4.85, SD = 0.12) 2) The comparison shows that learners' learning achievement after studying is significantly (.05) higher than before studying. 3) The comparison of learners' Electrical Circuit Analysis Skills after studying higher than before study, which was significant at .05 4) The project was evaluated at the highest-level mean value 2.39, accounting for more than 80% of the total. 
งานวิจัยนี้เป็นการพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านด้วยโครงงานเป็นฐานร่วมกับแอปพลิเคชัน EveryCircuit โดยประชากร คือ นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) อาชีวศึกษาจังหวัดสุโขทัย กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) วิทยาลัยการอาชีพศรีสำโรง ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 20 คน ได้มาโดยใช้วิธีการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่วิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบทดสอบความรู้ แบบประเมินทักษะ และแบบประเมินชิ้นงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย (X-), ร้อยละ (%), ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD) และการทดสอบค่าที (t-test) แบบ dependent ผลการวิจัยพบว่า 1) การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบห้องเรียนกลับด้านด้วยโครงงานเป็นฐานร่วมกับแอปพลิเคชัน EveryCircuit เพื่อพัฒนาทักษะการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าของนักเรียนสาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพในภาพรวม พบว่า มีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด (X-​ = 4.85, SD = 0.12)  2) การเปรียบเทียบความรู้ เรื่อง การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าของผู้เรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3) ทักษะการคิดวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าของผู้เรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ผลงาน การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าของผู้เรียนมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 2.39 คิดเป็นร้อยละ 80 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5920
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
TichapornFhaitong.pdf2.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.