Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5918
Title: การจัดการคลังสินค้า กรณีศึกษากลุ่มแม่บ้านเกษตรกรหนองตูมพัฒนา ตำบลหนองตูม อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย
Warehouse management: A case study of Nong Toom Phatthana Agricultural Housewives Group, Nong Toom Sub-district, Kong Krailat District, Sukhothai Province
Authors: Chanikant Prampree
ชนิกานต์ เปรมปรีดิ์
Assadang Polnok
อัษฎางค์ พลนอก
Naresuan University
Assadang Polnok
อัษฎางค์ พลนอก
assadangp@nu.ac.th
assadangp@nu.ac.th
Keywords: วิสาหกิจชุมชน
สินค้าคงคลัง
การวิเคราะห์ ABC – FSN
Community Enterprise
Inventory
ABC–FSN Analysis
Issue Date: 2566
Publisher: Naresuan University
Abstract: The research was a qualitative research followed by (1) to analyze inventory using the ABC – FSN Analysis system and (2) to compare the results of inventory improvement. The research was conducted by collecting data from the inventory of the Nong Toom Pattana Farmer Housewives Group, totaling 59 items, and analyzing the data by using ABC – FSN Analysis. The results showed that the total inventory value was 336,407 baht divided into group A, inventory value was 217,144 baht, 64.55% group B, inventory value was 83,440 baht, 24.80% group C, inventory value was 35,823 baht, 10.65%, group AF inventory value was 144,010 baht 42.81%, group AS inventory value was 56,899 baht 16.91% and group AN inventory value was 16,235 baht 4.83%. The analysis and adjustments have revealed that the overall value of the inventory amounts to 284,145 baht. Group A inventory value was 166,510 baht, 58.60% decreased by 23.26%. Group B inventory value was 83,616 baht, 29.43% increased of 0.2 percent. Group C inventory value was 34,019 baht, 11.97 percent, decreased by 5.03 percent. The products in the low-moving group AN, inventory value was 7,640 baht, decreased by 52.94 percent, group BN, inventory value was 28,298 baht, decreased by 24.32 percent, and in group CN, The inventory value was 14,476 baht, decreased of 8.14 percent. Overall, the inventory value decreased by 52,262 baht, representing a decrease of 15.54 percent.  As a result, there was a noticeable increase in the liquidity of the community enterprise.
การวิจัยนี้เป็นวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์ คือ (1)  เพื่อวิเคราะห์สินค้าคงคลังด้วยระบบ ABC – FSN Analysis และ (2) เพื่อเปรียบเทียบผลการปรับปรุงคลังสินค้า ดำเนินการวิจัยโดยเก็บข้อมูลจากรายการสินค้าคงคลังของกลุ่มแม่บ้านเกษตรกรหนองตูมพัฒนาจำนวนทั้งสิ้น 59 รายการ และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ด้วยระบบ ABC – FSN Analysis ผลการวิจัย พบว่า สินค้าคงคลังมูลรวมค่ารวมเท่ากับ 336,407 บาท โดยแยกเป็น กลุ่ม A มูลค่าสินค้าคงคลังเท่ากับ 217,144 บาท ร้อยละ 64.55 กลุ่ม B มูลค่าสินค้าคงคลังเท่ากับ 83,440 บาท ร้อยละ 24.80 กลุ่ม C มูลค่าสินค้าคงคลังเท่ากับ 35,823 บาท ร้อยละ 10.65 กลุ่ม AF มูลค่าสินค้าคงคลังเท่ากับ 144,010 บาท ร้อยละ 42.81 กลุ่ม AS มูลค่าสินค้าคงคลังเท่ากับ 56,899 บาท ร้อยละ 16.91 และ กลุ่ม AN มูลค่าสินค้าคงคลังเท่ากับ 16,235 บาท ร้อยละ 4.83 หลังจากได้มีการดำเนินการวิเคราะห์และปรับปรุง พบว่า สินค้าคงคลังมูลค่ารวมเท่ากับ 284,145 บาท กลุ่ม A มูลค่าสินค้าคงคลังเท่ากับ 166,510 บาท ร้อยละ 58.60 ลดลงร้อยละ 23.26 กลุ่ม B มูลค่าสินค้าคงคลังเท่ากับ 83,616 บาท ร้อยละ 29.43 เพิ่มขึ้นร้อยละ +0.21 กลุ่ม C มูลค่าสินค้าคงคลังเท่ากับ 34,019 บาท ร้อยละ 11.97 ลดลงร้อยละ 5.03 สินค้าในกลุ่มที่เคลื่อนไหวน้อย AN มูลค่าสินค้าคงคลังเท่ากับ 7,640 บาท ลดลงร้อยละ -52.94 กลุ่ม BN มูลค่าสินค้าคงคลังเท่ากับ 28,298 บาท ลดลงร้อยละ 24.32 และ กลุ่ม CN มูลค่าสินค้าคงคลังเท่ากับ 14,476 บาท ลดลงร้อยละ 8.14 โดยรวม มูลค่าสินค้าคงคลังลดลง 52,262 บาท ลดลงร้อยละ 15.54  ส่งผลให้วิสาหกิจชุมชนมีสภาพคล่องเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5918
Appears in Collections:คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ChanikantPrampree.pdf3.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.