Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5906
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNarupon Komsanen
dc.contributorนฤพนธ์ คมสันth
dc.contributor.advisorJirawat Phirasanten
dc.contributor.advisorจิรวัฒน์ พิระสันต์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:12:12Z-
dc.date.available2023-10-31T04:12:12Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5906-
dc.description.abstractMascot Design and Evaluation for Local Tourism Communication in Phitsanulok. The Researcher defines the objectives of the research as follows: 1) The development a design process for Mascot Design that conveys local identity 2) The designing of Mascot Design that conveys local identity for 9 District in Phitsanulok 3) The  Evaluation of design process for Mascot Design and Mascot Design that conveys local identity for 9 District in Phitsanulok. The aim of the study was to develop a design process for lucky symbols that represent personality identity and use the concept of character development costume development Once the development process has been evaluated by experts and design scholars. Then the design process has been used in the design of Mascot Design that conveys local identity for 9 District in Phitsanulok and evaluate the design of Mascot Design By using the evaluation method for the design of Mascot Design, the researcher developed the criteria for evaluating the design of Mascot Design for this research.To assess the design process of lucky symbols developed in Research Objective 1. The researcher used a quantitative research tool, a questionnaire, to assess the design process of Mascot Design that conveys local identity by using a sample of experts and academics A total of 5 people collected data from a questionnaire. with a specific selection method (Purposive Sampling) as respondents. Statistics used involved percentage, mean (x̄), standard deviation (S.D.) The evaluation criteria for the design process were as follows: 1) Ease of use 2) Meets objectives 3) Flexibility 4) Applicability It was found that the 4th stage of costume development Received the 1st rank assessment result with the total mean (x̄=4.75, S.D.=0.46) at the highest level. The second evaluation result is the third step, the character development stage. The total mean (x̄=4.70, S.D.=0.57) was at a high level. The 3rd assessment result is the 1st step, the development of concepts. The total mean (x̄=4.65, S.D.=0.60) was at a high level. And the last step is the second step, personality development. The total mean (x̄ =4.50, S.D.=0.70) was at a high level. For evaluating the design of Mascot Design that conveys local identity for 9 District in Phitsanulok developed in Research Objective 2. The researcher used a quantitative research tool, a questionnaire, to evaluate the results of the lucky symbol design. developed according to the process By using a total of 2 samples, namely group 1) experts and academics. A total of 5 people collected data from a questionnaire by means of purposive sampling as respondents. group 2) A sample of general public, totaling 160 people, collecting data from questionnaires by random sampling method as respondents. The results of the evaluation from the 1st sample group were evaluated for the design of mascot as follows: Model 8 Champa Khao, Nakhon Thai District received the 1st evaluation result with the total mean (x̄=4.90, S.D. = 0.16) at the level the most. The second assessment result is Model 6, Mali-Ong, Bang Krathum District. The total mean (x̄=4.76, S.D.=0.40) was at a high level. The 3rd rank evaluation result is the 2nd Model. Chao Kaeo, Bang Rakam District, has the total mean (x̄=4.73, S.D.=0.34) at a high level. And the last one is the 4th Model, Maprang Wan, Noen Maprang District. The total mean (x̄=4.38, S.D.= 0.97) was at a high level. The evaluation results from the second sample group were evaluated for the design of Mascot design as follows: Model 8 Champa Khao, Nakhon Thai District was evaluated as number 1 with the total mean (x̄= 4.59, S.D.= 0.58) at the level the most The second evaluation result is the 5th Model, Mongkhon, Phrom Phiram District. The total mean (x̄=4.42, S.D.=0.70) was at a high level. The 3rd rank assessment result is Model 1, Hang Khao, Mueang Phitsanulok District. The total mean (x̄=4.33, S.D.=0.73) was at a high level. And the last order had the same mean, Model 3 Pad Thai, Wang Thong District had the total mean (x̄=4.15, S.D.=0.81) at a high level and Model 4 Maprangwan, Noen Maprang District (x̄=4.15, S.D.=0.99) is at a high level.en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่อง การพัฒนากระบวนการออกแบบสัญลักษณ์นำโชคเพื่อสื่อสารการท่องเที่ยวท้องถิ่นประจำจังหวัดพิษณุโลก มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากระบวนการออกแบบสัญลักษณ์นำโชค (Mascot) ที่สื่ออัตลักษณ์ท้องถิ่นของจังหวัดพิษณุโลก 2) เพื่อพัฒนาสัญลักษณ์นำโชค (Mascot) ที่สื่ออัตลักษณ์ท้องถิ่นของจังหวัดพิษณุโลก 3) ประเมินผลการใช้งานของกระบวนการออกแบบสัญลักษณ์นำโชค (Mascot) ที่สื่อถึงอัตลักษณ์ท้องถิ่นของจังหวัดพิษณุโลก จุดมุ่งหมายของการศึกษาเพื่อพัฒนากระบวนการออกแบบสัญลักษณ์นําโชคที่แสดงถึงอัตลักษณ์บุคลิกภาพและความหมายของท้องถิ่นต่างๆ และใช้แนวคิดในการพัฒนาตัวละคร การพัฒนาเครื่องแต่งกาย เมื่อได้กระบวนการพัฒนาที่ได้รับการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการด้านการออกแบบแล้ว จึงนำกระบวนการออกแบบที่ได้ไปใช้งานในการออกแบบสัญลักษณ์นําโชคที่สื่ออัตลักษณ์ท้องถิ่น 9 อำเภอของจังหวัดพิษณุโลก และประเมินผลการออกแบบสัญลักษณ์นำโชคที่สื่ออัตลักษณ์ท้องถิ่น 9 อําเภอในจังหวัดพิษณุโลก โดยใช้วิธีการประเมินผลการออกแบบสัญลักษณ์นําโชคที่ผู้วิจัยได้พัฒนาเกณฑ์ในการประเมินผลงานออกแบบสัญลักษณ์นำโชคสำหรับงานวิจัยครั้งนี้ เพื่อการประเมินกระบวนการออกแบบสัญลักษณ์นำโชคที่ถูกพัฒนาขึ้นในวัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 1 ผู้วิจัยใช้ เครื่องมือวิจัยเชิงปริมาณคือ แบบสอบถาม (Questionaire) เพื่อประเมินกระบวนการออกแบบสัญลักษณ์นำโชคที่สื่ออัตลักษณ์ท้องถิ่น ที่ได้พัฒนาขึ้นตามกระบวนการ โดยใช้กลุ่มตัวอย่างผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการ จำนวนทั้งสิ้น 5 คน เก็บข้อมูลจากแบบสอบถาม ด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าร้อยละ หรือเปอร์เซ็นต์ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (x̄) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ใช้เกณฑ์การประเมินกระบวนการออกแบบดังนี้ 1) ง่ายต่อการใช้งาน 2) ตรงตามวัตถุประสงค์ 3) มีความยืดยุ่น 4) การประยุกต์การใช้งาน พบว่าขั้นตอนที่ 4 ขั้นพัฒนาเครื่องแต่งกาย ได้รับผลการประเมินเป็นอันดับ 1 มีค่าเฉลี่ยรวม (=4.75, S.D.=0.46) อยู่ในระดับมากที่สุด ผลการประเมินเป็นอันดับ 2 คือ ขั้นตอนที่ 3 ขั้นพัฒนาตัวละคร มีค่าเฉลี่ยรวม (=4.70, S.D.=0.57) อยู่ในระดับมาก ผลการประเมินเป็นอันดับ 3 คือขั้นตอนที่ 1 ขั้นพัฒนาแนวความคิด มีค่าเฉลี่ยรวม (=4.65, S.D.=0.60) อยู่ในระดับมากและลำดับสุดท้ายคือคือขั้นตอนที่ 2 ขั้นพัฒนาบุคลิกภาพ มีค่าเฉลี่ยรวม (=4.50, S.D.=0.70) อยู่ในระดับมาก สำหรับการประเมินผลการออกแบบสัญลักษณ์นำโชคที่สื่ออัตลักษณ์ท้องถิ่น 9 อำเภอ จังหวัดพิษณุโลกที่ถูกพัฒนาขึ้นในวัตถุประสงค์การวิจัยข้อที่ 2 ผู้วิจัยใช้เครื่องมือวิจัยเชิงปริมาณคือ แบบสอบถาม (Questionaire) เพื่อประเมินผลการออกแบบสัญลักษณ์นำโชค ที่ได้พัฒนาขึ้นตามกระบวนการ โดยใช้กลุ่มตัวอย่างทั้งสิ้น 2 คือ กลุ่มที่ 1) ผู้เชี่ยวชาญและนักวิชาการ จำนวนทั้งสิ้น 5 คน เก็บข้อมูลจากแบบสอบถามด้วยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม กลุ่มที่ 2) กลุ่มตัวอย่างประชาชนทั่วไปจำนวนทั้งสิ้น 160 คน เก็บข้อมูลจากแบบสอบถามด้วยวิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบสุ่ม (Random Sampling) เป็นผู้ตอบแบบสอบถาม ผลประเมินจากกลุ่มตัวอย่างที่ 1 ได้ผลการประเมินการออกแบบสัญลักษณ์นำโชคดังนี้ รูปแบบที่ 8 จำปาขาว อำเภอนครไทย ได้รับผลการประเมินเป็นอันดับ 1 มีค่าเฉลี่ยรวม (=4.90, S.D.=0.16) อยู่ในระดับมากที่สุด ผลการประเมินเป็นอันดับ 2 คือรูปแบบที่ 6 มะลิอ่อง อำเภอบางกระทุ่ม มีค่าเฉลี่ยรวม (=4.76, S.D.=0.40) อยู่ในระดับมาก ผลการประเมินเป็นอันดับ 3 คือรูปแบบที่ 2 เจ้าแก้ว อำเภอบางระกำ มีค่าเฉลี่ยรวม (=4.73, S.D.=0.34) อยู่ในระดับมาก และลำดับสุดท้ายคือรูปแบบที่ 4 มะปรางหวาน อำเภอเนินมะปราง มีค่าเฉลี่ยรวม ( =4.38, S.D.=0.97) อยู่ในระดับมาก และผลประเมินจากกลุ่มตัวอย่างที่ 2 ได้ผลการประเมินการออกแบบสัญลักษณ์นำโชคดังนี้ รูปแบบที่ 8 จำปาขาว อำเภอนครไทย ได้รับผลการประเมินเป็นอันดับ 1 มีค่าเฉลี่ยรวม (=4.59, S.D.=0.58) อยู่ในระดับมากที่สุด ผลการประเมินเป็นอันดับ 2 คือ รูปแบบที่ 5 มงคล อำเภอพรหมพิราม มีค่าเฉลี่ยรวม (=4.42, S.D.=0.70) อยู่ในระดับมาก ผลการประเมินเป็นอันดับ 3 คือ รูปแบบที่ 1 หางขาว อำเภอเมืองพิษณุโลก มีค่าเฉลี่ยรวม (=4.33, S.D.=0.73) อยู่ในระดับมาก และลำดับสุดท้ายมีค่าเฉลี่ยเท่ากันคือ รูปแบบที่ 3 ผัดไท อำเภอวังทอง มีค่าเฉลี่ยรวม (=4.15, S.D.=0.81) อยู่ในระดับมากและรูปแบบที่ 4 มะปรางหวาน อำเภอเนินมะปราง (=4.15, S.D.=0.99) อยู่ในระดับมากth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectสัญลักษณ์นำโชคth
dc.subjectอัตลักษณ์ท้องถิ่นth
dc.subjectสื่อการท่องเที่ยวth
dc.subjectMascot Designen
dc.subjectLocal Identityen
dc.subjectTourism Communication Mediaen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.subject.classificationArts, entertainment and recreationen
dc.subject.classificationDesignen
dc.titleการพัฒนากระบวนการออกแบบสัญลักษณ์นําโชคเพื่อสื่อสารการท่องเที่ยวท้องถิ่น ประจําจังหวัดพิษณุโลกth
dc.titleThe Development of Mascot Design Process for Local Tourism Communication in Phitsanulok en
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorJirawat Phirasanten
dc.contributor.coadvisorจิรวัฒน์ พิระสันต์th
dc.contributor.emailadvisorjirawatp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorjirawatp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Fine and Applied Arts (D.F.A.)en
dc.description.degreenameศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ศป.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Art and Designen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาศิลปะและการออกแบบth
Appears in Collections:คณะสถาปัตยกรรมศาสต์ ศิลปะและการออกแบบ

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
NaruponKomsan.pdf13.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.