Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5903
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSiwakon Sriruwaten
dc.contributorศิวกร ศรีรุวัฒน์th
dc.contributor.advisorSarawut Wattanawongpitaken
dc.contributor.advisorสราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:11:46Z-
dc.date.available2023-10-31T04:11:46Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5903-
dc.description.abstractThis thesis presents a control system design for regulating the rate of temperature increase in an ohmic heating process for pork steak preparation machines. The study investigates temperature change characteristics and predicts the quality of the pork steaks. The control design utilizes a simple artificial neural network model and a random forest. Through experimentation on pork cuts with cross-sectional areas of 4x2, 4x3, and 4x4, it was observed that low and constant electrical voltage inputs resulted in a linear rate of temperature increase and faster heating compared to grilling methods. A 20 VAC was chosen for developing a prediction program for time and appearance. The significant variables influencing time prediction were temperature, pre-heating weight, and initial temperature. For predicting appearance were pre-heating weight, temperature, and initial temperature. The model achieved accurate predictions, with a maximum accuracy of 100%. The model outperformed equation-based approaches in classifying abnormal pork characteristics, with lower calculation errors and more comprehensive predictions.en
dc.description.abstractในวิทยานิพนธ์นี้นำเสนอการออกแบบควบคุมอัตราการเพิ่มอุณหภูมิในกระบวนการให้ความร้อนแบบโอห์มมิกสำหรับเตรียมสเต็กเนื้อหมูให้เหมาะสม โดยการศึกษาคุณลักษณะของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิที่เกิดขึ้นและการทำนายคุณภาพของสเต็กเนื้อหมู ในการออกแบบการควบคุมใช้โมเดลโครงข่ายประสาทเทียมอย่างง่ายและโมเดลการแบ่งกลุ่มด้วยวิธีป่าสุ่ม เมื่อศึกษาการให้ความร้อนในชิ้นเนื้อหมูขนาดพื้นที่หน้าตัด 4x2, 4x3, และ 4x4 พบว่าการป้อนแรงดันไฟฟ้าต่ำและคงที่จะให้อัตราการเพิ่มอุณหภูมิเป็นเชิงเส้นและใช้เวลาเร็วกว่าการย่างปกติ โดยเลือกใช้ 20 โวลต์ กระแสสลับในการออกแบบโปรแกรมทำนายเวลาและคุณลักษณะปรากฏ ตัวแปรที่มีผลมากที่สุดในการทำนายเวลาคืออุณหภูมิชิ้นเนื้อ น้ำหนักก่อนการทดลอง และอุณหภูมิเริ่มต้นของชิ้นเนื้อตามลำดับ สำหรับการทำนายลักษณะปรากฏของชิ้นเนื้อที่จะเกิดขึ้น ตัวแปรที่ใช้คือน้ำหนักก่อนการให้ความร้อน อุณหภูมิของชิ้นเนื้อ และอุณหภูมิเริ่มต้น โมเดลสามารถทำนายเวลาและลักษณะปรากฏได้อย่างแม่นยำ และมีความถูกต้องสูงสุดถึง 100% สามารถจำแนกกรณีที่ลักษณะปรากฏของชิ้นเนื้อมีความผิดปกติได้เมื่อเปรียบเทียบกับการคำนวณจากสมการการเปลี่ยนแปลงพลังงานความร้อนด้วยไฟฟ้า โดยมีความผิดพลาดในการคำนวณเวลาน้อยกว่าและทำนายได้ครอบคลุมทุกปัญหากว่าการใช้สมการth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectปัจจัยทางไฟฟ้าth
dc.subjectการให้ความร้อนแบบโอห์มมิกth
dc.subjectเครื่องเตรียมสเต็กth
dc.subjectคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีth
dc.subjectระยะเวลาการปรุงสุกth
dc.subjectการเรียนรู้ของเครื่องจักรth
dc.subjectโครงข่ายประสาทเทียมอย่างง่ายth
dc.subjectป่าสุ่มth
dc.subjectElectrical Factorsen
dc.subjectOhmic Heatingen
dc.subjectSteak Preparation Machineen
dc.subjectPhysicochemical Propertiesen
dc.subjectCooking timeen
dc.subjectMachine Learningen
dc.subjectSimple Neural Networken
dc.subjectRandom Foresten
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.subject.classificationElectricity, gas, steam and air conditioning supplyen
dc.subject.classificationElectricity and energyen
dc.titleการวิเคราะห์ปัจจัยทางไฟฟ้าที่มีอิทธิพลต่อคุณลักษณะของเนื้อหมูในกระบวนการให้ความร้อนแบบโอห์มมิกด้วยการเรียนรู้ของเครื่องจักรth
dc.titleAnalysis of Electrical Factors Influencing The Pork Characteristics in Ohmic Heating Process by Machine Learningen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSarawut Wattanawongpitaken
dc.contributor.coadvisorสราวุฒิ วัฒนวงค์พิทักษ์th
dc.contributor.emailadvisorsarawutw@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsarawutw@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Engineering (M.Eng.)en
dc.description.degreenameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Electrical and Computer Engineering(ECPE)en
dc.description.degreedisciplineภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้าและคอมพิวเตอร์th
Appears in Collections:คณะวิศวกรรมศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SiwakonSriruwat.pdf3.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.