Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5848
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Chadayu Wongchai | en |
dc.contributor | ชฎายุ วงค์ชัย | th |
dc.contributor.advisor | Sureeporn Sawangmek | en |
dc.contributor.advisor | สุรีย์พร สว่างเมฆ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-10-31T04:07:00Z | - |
dc.date.available | 2023-10-31T04:07:00Z | - |
dc.date.created | 2566 | en_US |
dc.date.issued | 2566 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5848 | - |
dc.description.abstract | The objectives of the research were to study the adaptive learning management with board games for development of learning progress about living things and the effect of the adaptive learning management with board games for development of learning progress about living things for 14 grade 4th students in an extended school in Phrae Province. The research instruments consisted of 1) the lesson plans of adaptive learning management with board games: the living things board game, the vertebrate animals board game, and the parts of plants board game, the reflection of learning management, the activity sheets, and the assessment of development learning progress about living things. The 3 actions research processes were used in the research. The content analysis was used to data analysis verifying the trustworthiness by the resource triangulation and method triangulation. The results of this research revealed that the adaptive learning management with board games of development learning progress about living thongs for 14 grade 4th students were as follows: step 1, planning and analyzing levels and creating a game; the researcher analyzed the concept level for each sub-concept of all living things, from the 2008 Basic Education Core Curriculum. It was found that there were 3 sub-concepts of learning in creatures consisted of the living things, the vertebrate animals and plants. And the sub-concepts can be divided into 3 concept levels included of characterization, segmentation and application. The 3 board games were designed on the 3-concept level. Step 2: Playing the game, the students were divided according to the concept level from the result of pre-test. The members of game playing change according to their points scored of the concept level in each game. Those who do not pass the concept level assisted in special card in the board game. Step 3 summarizing and discussing on results of what students have learned summarize through discussion using questions and exchange their opinions. In addition, the result found that student’s concept of organisms at level 3 increased by 11 people, representing 78.57%, the concepts of vertebrates at level 3 increased by 8 people, representing 57.14 percent, and the plant concepts at level 3 increased by 9 people, representing 64.28 percent. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการจัดการเรียนรู้ แบบปรับเหมาะร่วมกับการใช้บอร์ดเกมเพื่อพัฒนาความก้าวหน้าในการเรียนรู้ เรื่อง สิ่งมีชีวิต และศึกษาผลการจัดการเรียนรู้แบบปรับเหมาะร่วมกับการใช้บอร์ดเกมเพื่อพัฒนาความก้าวหน้า ในการเรียนรู้เรื่องสิ่งมีชีวิต ผู้เข้าร่วมการวิจัย คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จำนวน 14 คน ในโรงเรียนขยายโอกาสแห่งหนึ่งในจังหวัดแพร่ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนรู้แบบปรับเหมาะร่วมกับการใช้บอร์ดเกม 2) แบบบันทึกการสะท้อนผลการจัดการเรียนรู้ 3) ใบกิจกรรม และ 4) แบบวัดความก้าวหน้าในการเรียนรู้ เรื่อง สิ่งมีชีวิต ดำเนินการวิจัยโดยใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติการ 3 วงจรปฏิบัติการ วิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาและตรวจสอบความน่าเชื่อถือด้วยการตรวจสอบสามเส้าด้านวิธีการ และด้านแหล่งข้อมูลผลการวิจัย พบว่าแนวทางทางการจัดการเรียนรู้กิจกรรมการเรียนรู้ แบบปรับเหมาะร่วมกับการใช้บอร์ดเกมเพื่อพัฒนาความก้าวหน้าในการเรียนรู้ เรื่อง สิ่งมีชีวิต ประกอบด้วย ขั้นที่ 1 ขั้นวางแผน โดการวิเคราะห์ระดับแนวคิดแต่ละแนวคิดย่อยของเรื่องสิ่งมีชีวิตทั้งหมด พบเส้นทางการเรียนรู้ใน เรื่อง สิ่งมีชีวิตมี ทั้งหมด 3 แนวคิดย่อย ได้แก่ กลุ่มสิ่งมีชีวิต, สัตว์มีกระดูกสันหลังและพืช ซึ่งแต่ละแนวคิดย่อยแบ่งได้เป็น 3 ระดับแนวคิด ประกอบด้วย การอธิบายลักษณะ, การแยกกลุ่มและการประยุกต์ใช้โดยผ่านการเล่นบอร์ดเกม นำไปสู่การออกแบบบอร์ดเกมทั้งหมด 3 บอร์ดเกม ประกอบด้วย บอร์ดเกมกลุ่มสิ่งมีชีวิต บอร์ดเกมสัตว์มีกระดูกสันหลังและบอร์ดเกมPart of plant โดยแต่ละบอร์ดเกมมีทั้งหมด 3 ระดับตามระดับแนวคิด ขั้นที่ 2 ขั้นเล่นเกม แบ่งกลุ่มผู้เล่นตามระดับความสามารถจากแบบวัดก่อนเรียน สมาชิกในกลุ่มจะเปลี่ยนไป ตามคะแนนที่ได้ในแต่ละเกม สำหรับผู้ที่ไม่ผ่านจะได้รับการช่วยเหลือผ่านบอร์ดเกมอีกครั้ง เพื่อจะสามารถผ่านระดับได้ ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป จากสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกับผู้เรียน แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นแล้วสรุปความรู้ของนักเรียนให้ถูกต้องครบถ้วนผ่านการอภิปรายโดยใช้คำถาม ขั้นที่ 4 ขั้นประเมินผลการเรียนรู้ ผ่านการทำกิจกรรมวัดความก้าวหน้า พบว่านักเรียนที่มีแนวคิด เรื่องกลุ่มสิ่งมีชีวิต มีแนวคิดระดับ 3 เพิ่มขึ้น 11 คน คิดเป็นร้อยละ 78.57 และแนวคิดเรื่องสัตว์ มีกระดูกสันหลัง มีแนวคิดระดับ 3 เพิ่มขึ้น 8 คน คิดเป็นร้อยละ 57.14 และแนวคิดเรื่องพืช มีแนวคิดระดับ 3 เพิ่มขึ้น 9 คน คิดเป็นร้อยละ 64.28 | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การจัดการเรียนรู้แบบปรับเหมาะ | th |
dc.subject | บอร์ดเกม | th |
dc.subject | สิ่งมีชีวิต | th |
dc.subject | ความก้าวหน้าในการเรียนรู้ | th |
dc.subject | Adaptive Learning Management | en |
dc.subject | Board Games | en |
dc.subject | Living Things | en |
dc.subject | Development Learning Progress | en |
dc.subject.classification | Social Sciences | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Education science | en |
dc.title | แนวทางการจัดการเรียนรู้แบบปรับเหมาะร่วมกับการใช้บอร์ดเกม เพื่อพัฒนาความก้าวหน้าในการเรียนรู้ เรื่อง สิ่งมีชีวิต สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 | th |
dc.title | Adaptive Learning Management With Board Games for Development of Learning Progress About Living Things for Grade 4th Students | en |
dc.type | Independent Study | en |
dc.type | การค้นคว้าอิสระ | th |
dc.contributor.coadvisor | Sureeporn Sawangmek | en |
dc.contributor.coadvisor | สุรีย์พร สว่างเมฆ | th |
dc.contributor.emailadvisor | sureepornka@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | sureepornka@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Education (M.Ed.) | en |
dc.description.degreename | การศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Education | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาการศึกษา | th |
Appears in Collections: | คณะศึกษาศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
ChadayuWongchai.pdf | 2.9 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.