Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5839
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWatcharapol Boonprakorben
dc.contributorวัชรพล บุญประกอบth
dc.contributor.advisorJakkrit Jantakoonen
dc.contributor.advisorจักรกฤษณ์ จันทะคุณth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:06:59Z-
dc.date.available2023-10-31T04:06:59Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5839-
dc.description.abstractThe purposes of this research were (1) to create and verify the effectiveness of learning activities by using design thinking process; (2) to compare the green innovative entrepreneurship competency after using learning activities which the 70 criterion; (3) to study the green innovative entrepreneurship competency level of students and (4) to study the opinions of students towards learning activities. Use research and development methodology. The population was conducted with 33 students of ninth grade students at schools under the secondary educational service area office Phitsanulok Uttaradit. They were selected by cluster random sampling. The research tools were (1) learning activities (2) competency assessment form and (3) after action review form. The data were analyzed by using mean, percentage, standard deviation, T-test and content analysis. The results of the study revealed that: 1. The learning activities by using design thinking process were 5 steps. The result indicates had appropriated quality with highest level and efficiency at 75.12/75.46 which satisfied the 75/75 criterion. 2. Students were a green innovative entrepreneurship competency after learning was statistically significant higher than the 70 percent criteria at the .05 levels. 3. Students were a green innovative entrepreneurship competency at an advanced level and developing level accounted for 72.73% and 27.27%. 4. Students were motivated to produce green innovations, intention of being an entrepreneur, able to apply a variety of knowledge able to change oneself in working to achieve success.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อสร้างและประเมินประสิทธิภาพของกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ 2) เพื่อเปรียบเทียบสมรรรถนะการเป็นผู้ประกอบการนวัตกรรมสีเขียวของนักเรียนหลังเรียนกับเกณฑ์ร้อยละ 70 3) เพื่อศึกษาระดับสมรรรถนะการเป็นผู้ประกอบการนวัตกรรมสีเขียวของนักเรียน และ 4) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการเรียนรู้ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยและพัฒนา ประชากรกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 33 คน โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาพิษณุโลก อุตรดิตถ์ ได้จากการสุ่มแบบแบ่งกลุ่ม เครื่องมือวิจัย คือ 1) กิจกรรมการเรียนรู้ 2) แบบประเมินสมรรถนะ และ 3) แบบสอบถามความคิดเห็นหลังการเข้าร่วมกิจกรรม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบที และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า 1. กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ ประกอบด้วย 5 ขั้นตอน มีผลการประเมินความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด และมีประสิทธิภาพเท่ากับ 75.12/75.46 เป็นไปตามเกณฑ์ 75/75 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีสมรรถนะการเป็นผู้ประกอบการนวัตกรรมสีเขียว หลังเรียนสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีสมรรถนะการเป็นผู้ประกอบการนวัตกรรมสีเขียวที่ระดับสูงและระดับกำลังพัฒนา คิดเป็นร้อยละ 72.73 และ 27.27 ตามลำดับ 4. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มีแรงจูงใจ มีความตั้งใจในการเป็นผู้ประกอบการ ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ที่หลากหลายเพื่อผลิตนวัตกรรมสีเขียวให้สำเร็จ  th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectกิจกรรมการเรียนรู้th
dc.subjectกระบวนการคิดเชิงออกแบบth
dc.subjectสมรรถนะการเป็นผู้ประกอบการth
dc.subjectนวัตกรรมสีเขียวth
dc.subjectLearning activityen
dc.subjectDesign thinking processen
dc.subjectEntrepreneurship competencyen
dc.subjectGreen innovativeen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationTraining for pre-school teachersen
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการคิดเชิงออกแบบ เพื่อส่งเสริมสมถรรถนะการเป็นผู้ประกอบการนวัตกรรมสีเขียว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3th
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF LEARNING ACTIVITIES BY USING DESIGN THINKING PROCESS TO ENHANCE GREEN INNOVATIVE ENTREPRENEURSHIP COMPETENCY FOR NINTH GRADE STUDENTSen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorJakkrit Jantakoonen
dc.contributor.coadvisorจักรกฤษณ์ จันทะคุณth
dc.contributor.emailadvisorjakkritj@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorjakkritj@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WatcharapolBoonprakorb.pdf5.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.