Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5838
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorMontree Khongkhaen
dc.contributorมนตรี คงคาth
dc.contributor.advisorNattachet Pooncharoenen
dc.contributor.advisorณัฐเชษฐ์ พูลเจริญth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:06:59Z-
dc.date.available2023-10-31T04:06:59Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5838-
dc.description.abstractThis study aims to investigate the knowledgeable and understanding of geography in high school education for developed the learning activities and enhance the skills of dealing with floods. This methodology is a qualitative study using three instruments for collecting the data, in-depth interviews, learning activity, and geospatial technology (Q-GIS). The participants of this study is a high school education student of Sapphraiwanwitthayakhom school, Phitsanulok province, academic year 2022. The informant in this study have 3 groups, floods specialist, geoinformatics specialist, and social studies teacher of high school education. This study using a criterion based selection and triangulation method for analyzing the data and reliability. The results of this study shows current teaching using a handbook for lecturing. Moreover, the lacks of knowledgeable and understanding of geography in teacher and high school education students. The learning activities by using Q-GIS program shows effectiveness and increase the skill development for dealing with floods in daily living. The lecturer can adapt the learning methods corresponding with current learning methodology.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันในด้านความรู้ ความเข้าใจ เพื่อเสริมสร้างทักษะการรับมือกับอุทกภัย ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้สาระภูมิศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างทักษะการรับมือกับอุทกภัย ของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย 1) แบบสัมภาษณ์เชิงลึก 2) คู่มือกิจกรรมการเรียนรู้ 3) โปรแกรมสำหรับภูมิสารสนเทศ (Q-GIS) กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ กลุ่มนักเรียน ได้แก่ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนทรัพย์ไพรวัลย์วิทยาคม จังหวัดพิษณุโลก ปีการศึกษา 2565 กลุ่มผู้ให้ความรู้ มีเกณฑ์การคัดเลือกจากเป็นกลุ่มที่ส่งเสริมความรู้ในส่วนของอุทกภัย และความรู้ทางภูมิศาสตร์ ได้แก่ ผู้เชี่ยวชาญด้านข้อมูลอุทกภัย ผู้เชี่ยวชาญด้านภูมิสารสนเทศ บุคลากรครูวิทยาฐานะเชี่ยวชาญทางด้านการสอนวิชาสังคมศึกษา ของระดับชั้นมัธยมศึกษา และบุคลากรครูโรงเรียนที่จัดการสอนกลุ่มสาระสังศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (เน้นหลักภูมิศาสตร์) ในเขตจังหวัดพิษณุโลก โดยใช้การเลือกแบบเจาะจง (Criterion Based Selection) และสรุปและวิเคราะห์ข้อมูลแบบอุปนัยโดยบันทึกพรรณนา และตรวจสอบความน่าเชื่อถือแบบสามเส้า ผลการวิจัย พบว่า 1) พบว่าครูผู้สอนมีการใช้สื่อที่หลากหลายทางภูมิศาสตร์ เช่น ลูกโลก แผนที่ และสื่อเทคโนโลยี ได้แก่ Google และ YouTube สื่อการสอนในรูปแบบการบรรยายผ่านหนังสือเรียน พาวเวอร์พอยด์ มีการบูรณาการวิชาวิทยาศาสตร์เข้ากับวิชาภูมิศาสตร์ ครูยังคงเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ ที่เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ผ่านโดยตรงที่อาจมุ้งเน้นลักษณะในเชิงการบรรยาย และให้ผู้เรียนจดบันทึกในสิ่งที่เรียนเข้าใจ ทั้งนี้ครูผู้ยังขาดความรู้ลักษณะเฉพาะด้านภูมิสารสนเทศ เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศสำหรับการใช้โปรแกรมในการทำแผนที่ และนักเรียนยังขาดความรู้ในเรื่องของภูมิสารสนเทศเป็นอย่างมาก 2) ผลการสร้างกิจกรรม พบว่าผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ ที่มากขึ้นในเรื่องของภูมิสารสนเทศที่บูรณาการเรียนรู้ให้เข้ากับเรื่องอุทกภัย จังหวัดพิษณุโลก ผู้เรียนสามารถใช้โปรแกรมทางภูมิสารสนเทศ (โปรแกรม Q-GIS) สามารถเข้าใจ และพัฒนะทักษะภูมิสารสนเทศ ทักษะการรับมืออุทกภัย ในการจัดกิจกรรมดังกล่าวสามารถเกิดผลลัพธ์ที่ดีเป็นอย่างมากต่อการเรียนรู้ ทั้งผู้เรียน ผู้สอน สื่อการเรียนรู้ ที่พัฒนาต่อยอด และนำไปปรับใช้ในการเรียน และดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างดีth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectระบบสารสนเทศth
dc.subjectอุทกภัยth
dc.subjectQuantum GIS (Q-GIS)th
dc.subjectทักษะการรับมืออุทกภัยth
dc.subjectการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภูมิสารสนเทศth
dc.subjectGeographic Information Systemen
dc.subjectFlooden
dc.subjectQuantum GISen
dc.subjectFlood Response Skillsen
dc.subjectOrganizing learning activities on geospatial informationen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleการพัฒนาทักษะการรับมือกับอุทกภัย โดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้เทคนิคทางด้านเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายth
dc.titleThe skill development for dealing with floods by using learning activities on geospatial technology of high school studentsen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorNattachet Pooncharoenen
dc.contributor.coadvisorณัฐเชษฐ์ พูลเจริญth
dc.contributor.emailadvisorNattachetp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorNattachetp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educationen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
MontreeKhongkha.pdf9.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.