Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5837
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorThanawat Sritisanen
dc.contributorธนวัฒน์ ศรีติสารth
dc.contributor.advisorParinya Soithongen
dc.contributor.advisorปริญญา สร้อยทองth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:06:59Z-
dc.date.available2023-10-31T04:06:59Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5837-
dc.description.abstractThis research article is a qualitative research (Qualitative Research). To study current conditions and problems in learning management of geographic information systems of high school students. and develop activities to enhance learning about geographic information systems to create urban lifestyles of high school students The target group used in the research was 44 high school students and one teacher in the geography subject group. religion and culture Janokrong School Phitsanulok Province, Academic Year 2022, by using Criterion Based Selection. There are 3 types of research tools: 1) an interview form on current conditions and problems in learning management of geographic information systems; know geographic information system 3) an activity observation form and an interview form after the activity. Qualitative research data was analyzed using content analysis and descriptive writing synthesis. The results showed that At present, teachers use learning materials in the form of lectures from textbooks. Teachers also lack teaching materials and geospatial-specific content to learn with students. And the students still lack knowledge in geospatial matters. and the results of the development of learning enhancement activities on geographic information systems to create urban lifestyles of high school students found that students can apply the Quantum-GIS (Q-GIS) program to learn and have geographic skills in using geographic techniques and tools. Spatial data is imported to create creative mapping elements. It can be applied to everyday life and cities created from knowledge of geography. Teachers can use the knowledge gained from creating learning activities for geographic information systems to develop teaching and learning activities. with guidelines for learning about geographic information systems to create urban lifestyles of high school students To build knowledge of geographic skills, or AGCH Model, is a process created to develop high school students. It focuses on the learners to lead to the creation of knowledge based on geographical skills. that is consistent with the results of the present study and problems in learning management of geographic information systems of high school students.en
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาในการจัดการเรียนรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย และพัฒนากิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อสร้างสรรค์วิถีชีวิตในเมือง ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ใน การวิจัย คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 44 คน กับครูผู้สอนรายวิชาภูมิศาสตร์ จำนวน 1 คน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม โรงเรียนจ่านกร้อง จังหวัดพิษณุโลก ปีการศึกษา 2565 โดยใช้การเลือกแบบเจาะจง (Criterion Based Selection) เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย มี 3 ชนิด คือ 1) แบบสัมภาษณ์สภาพปัจจุบันและปัญหาในการจัดการเรียนรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ 2) คู่มือกิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อสร้างสรรค์วิถีชีวิตในเมือง 3) แบบประเมินการสังเกตการณ์ทำกิจกรรมกับแบบสัมภาษณ์หลังจากทำกิจกรรม วิเคราะห์ข้อมูลการวิจัยเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและสังเคราะห์การเขียนบรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันครูผู้สอนมีการใช้สื่อการเรียนรู้รูปแบบการบรรยายจากหนังสือเรียน ครูผู้สอนยังขาดด้านสื่อการสอนและเนื้อหาลักษณะเฉพาะด้านภูมิสารสนเทศที่ใช้เรียนรู้ร่วมกับนักเรียน และนักเรียนยังขาดความรู้ในเรื่องภูมิสารสนเทศเป็นอย่างมาก และผลการพัฒนากิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อสร้างสรรค์วิถีชีวิตในเมืองของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า ผู้เรียนสามารถปรับใช้โปรแกรม Quantum-GIS (Q-GIS) ต่อการเรียนรู้และมีทักษะทางภูมิศาสตร์เรื่องการใช้เทคนิคและเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ โดยมีการนำเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่เพื่อนำไปสร้างองค์ประกอบของแผนที่ที่มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถนำไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันและเมืองที่สร้างสรรค์จากองค์ความรู้ทางด้านภูมิศาสตร์ ครูผู้สอนสามารถนำองค์ความรู้จากการสร้างกิจกรรมการเรียนรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์เพื่อนำไปพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนได้ ด้วยแนวทางในการจัดการเรียนรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อสร้างสรรค์วิถีชีวิตในเมือง ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย เพื่อสร้างองค์ความรู้ด้านทักษะทางภูมิศาสตร์ หรือ AGCH Model เป็นกระบวนการที่สร้างขึ้นเพื่อพัฒนานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย มุ่งเน้นให้ผู้เรียนนําไปสู่การสร้างองค์ความรู้บนพื้นฐานทักษะทางภูมิศาสตร์ ที่สอดคล้องกับผลการศึกษาสภาพปัจจุบัน และปัญหาในการจัดการเรียนรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectกิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้th
dc.subjectระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์th
dc.subjectการสร้างสรรค์วิถีชีวิตในเมืองth
dc.subjectActivities to Enhance Learningen
dc.subjectGeographic Information systemen
dc.subjectCreate a Creative Cityen
dc.subject.classificationSocial Sciencesen
dc.subject.classificationEducationen
dc.subject.classificationEducation scienceen
dc.titleกิจกรรมเสริมสร้างการเรียนรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ เพื่อสร้างสรรค์วิถีชีวิตในเมือง สำหรับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายth
dc.titleACTIVITIES TO ENHANCE LEARNING GEOGRAPHIC INFORMATION SYSTEM. TO CREATE A CREATIVE CITY. FOR HIGH SCHOOL STUDENTS.en
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorParinya Soithongen
dc.contributor.coadvisorปริญญา สร้อยทองth
dc.contributor.emailadvisorparinyas@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorparinyas@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Education (M.Ed.)en
dc.description.degreenameการศึกษามหาบัณฑิต (กศ.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Educational Administration and Developmenten
dc.description.degreedisciplineภาควิชาบริหาร วิจัย และพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษาth
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ThanawatSritisan.pdf14.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.